Page 77 - 003
P. 77

ประยุกต์ใช฾ในชีวิตประจ าวัน และมาตรฐาน ศ 1.2 : เข฾าใจความสัมพันธ์ระหว฽างทัศนศิลป฼

                   ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมเห็นคุณค฽างานทัศนศิลป฼ ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม และภูมิปัญญา
                   ไทยและภูมิปัญญาท฾องถิ่น (กรมวิชาการ. 2545)

                          หลักสูตรปีพุทธศักราช 2551 เป็นการต฽อยอดจากหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544

                   ภายใต฾การดูแลของส านักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น

                   พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ หลักสูตรนี้มีแรงผลักดันจากความเจริญก฾าวหน฾าทางวิทยาการด฾าน

                   ต฽าง ๆของโลกเป็นกลไกส าคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศไทย หลักสูตรนี้มุ฽งพัฒนา
                   ผู฾เรียนทุกคนเพื่อให฾เป็นก าลังของชาติไทย เพื่อสร฾างคนไทยให฾เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มี

                   ศักยภาพพร฾อมที่จะแข฽งขันและร฽วมมืออย฽างสร฾างสรรค์ในเวทีโลก ให฾คนไทยยึดมั่นในการปกครอง

                   ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข วิชากลุ฽มสาระการเรียนรู฾ศิลปะ มี

                   วัตถุประสงค์คือ ช฽วยให฾ผู฾เรียนมีความคิดริเริ่มสร฾างสรรค์ มีจินตนาการทางศิลปะ รู฾จักชื่นชมความ
                   งาม มีสุนทรียภาพ ความมีคุณค฽า  โดยกิจกรรมศิลปะจะช฽วยพัฒนาผู฾เรียนด฾านร฽างกาย จิตใจ

                   สติปัญญา อารมณ์ สังคม สิ่งแวดล฾อม ส฽งเสริมผู฾เรียนให฾มีความเชื่อมั่นในตนเอง อันเป็นพื้นฐานใน

                   การศึกษาต฽อหรือการประกอบอาชีพ สาระที่ 1 ทัศนศิลป฼ มีการก าหนดสาระส าคัญคือ “มีความรู฾

                   ความเข฾าใจองค์ประกอบศิลป฼ ทัศนธาตุ สร฾างและน าเสนอผลงานทางทัศนศิลป฼จากจินตนาการ โดย
                   สามารถใช฾อุปกรณ์ที่เหมาะสม รวมทั้งสามารถใช฾เทคนิค วิธีการของศิลปินในการสร฾างงานได฾อย฽างมี

                   ประสิทธิภาพ  วิเคราะห์  วิพากษ์ วิจารณ์คุณค฽างานทัศนศิลป฼            เข฾าใจความสัมพันธ ์

                   ระหว฽างทัศนศิลป฼  ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม  เห็นคุณค฽างานศิลปะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม

                   ภูมิปัญญาท฾องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ชื่นชม ประยุกต์ใช฾ในชีวิตประจ าวัน” (ส านักวิชาการและ
                   มาตรฐานการศึกษา. 2551)

                          หลักสูตรการศึกษาปีพุทธศักราช  2551 และฉบับปรับปรุงในปีพุทธศักราช 2560 และปี

                   พุทธศักราช 2563 มาต฽อยอด ในแต฽ละกลุ฽มสาระการเรียนรู฾ได฾ก าหนดมาตรฐานการเรียนรู฾เป็น

                   เปูาหมายส าคัญของการพัฒนาผู฾เรียนและใช฾เป็นเครื่องมือในการตรวจสอบคุณภาพการศึกษา การ
                   สอนได฾มุ฽งพัฒนาผู฾เรียนให฾มีลักษณะอันพึงประสงค์เพื่อให฾สามารถอยู฽ร฽วมกันในสังคมได฾อย฽างมี

                   ความสุขในฐานะที่เป็นพลเมืองของประเทศไทยและพลเมืองของโลก การเรียนการสอนจึงต฾องสอน

                                                                                                 ื่
                   ให฾ผู฾เรียนมีคุณลักษณะ 8 ประการได฾แก฽ 1. รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์  2. มีความซอสัตย ์
                   สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝุเรียนรู฾  5. อยู฽อย฽างพอเพียง 6. มุ฽งมั่นในการท างาน 7. รักความเป็นไทย 8.

                   มีจิตสาธารณะ
                          สาระที่ 1 ทัศนศิลป฼มี 2 มาตรฐานคือ








                                                           ~ 69 ~
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82