Page 72 - 003
P. 72

ิ
               2. หลักสูตรศลปะระดับชั้นประถมศึกษาในประเทศไทย
                       จากการศึกษาของ รองศาสตราจารย์วุฒิ วัฒนสิน (2541) และผู฾ช฽วยศาสตราจารย์ ดร.

               อัศวิน ศิลปเมธากุล (2552) ไดรวบรวมการจัดการเรียนการสอนวิชาศิลปะในไทยไว฾เป็น 4 ช฽วงเวลา
                                           ฾
               ดังนี้
                       1. ยุคสารัตถะนิยม (Essentialism)

                       เริ่มต฾นในสมัยรัชกาลที่ 5 รัฐบาลไทยได฾น าความคิดเกี่ยวกับการศึกษาจากต฽างประเทศมา

               เป็นแนวทางในการจัดการศึกษาให฾กับคนไทย ผู฾น าแนวคดที่เป็นชาวต฽างประเทศในสมัยนั้น ได฾แก฽ ว ิ
                                                                ิ
               ลเลียม ซี แบกเล฽ย์ (William C. Bagley) และ เฟรเดอริค บริด (Frederick Breed) สาระส าคัญ
               คือ การที่ผู฾เรียนรู฾จักพึ่งพาตนเอง (Self-Discipline) มีระเบียบวินัยในตนเองเพื่อสร฾างอนาคตของ

               ชาติ ในประเทศไทยได฾มีการสร฾างโรงเรียนหลวงในพระราชวังและมีการตั้งกระทรวงธรรมการเมื่อ

               วันที่ 1 เมษายน 2435 เพื่อให฾ดูแลเรื่องการศึกษา

                       ปีพุทธศักราช 2441 มีการประกาศใช฾โครงการศึกษาที่เป็นแม฽บทในการจัดการศึกษา
               ระดับประเทศเป็นครั้งแรก เดิมวิชาศิลปะจะเน฾นการท าตามครูผู฾สอนเป็นส าคัญมีการสืบทอดเนื้อหา

                                                                        ิ
               ทางด฾านศาสนาซึ่งเป็นการวาดภาพแบบประเพณีนิยมหรืออุดมคต (Idealistic) ในหลักสูตรใหม฽แบบ
               ตะวันตกครูจะสอนวิชาวาดเขียนจากแบบและของจริง (Realistic) เขียนรูปเรขาคณิตใช฾ในงาน

               สถาปัตยกรรมและประติมากรรม ในปีพุทธศักราช 2452 ได฾มีวิชาวาดเขียนและวิชาขับร฾องใน

               หลักสูตร โดยครูเลือกสอนได฾ตามความสามารถ
                       สรุปการจัดการสอนแบบสารัตถะนิยม ดังนี้

                       ลักษณะผู฾เรียน: การเรียนที่ต฾องอาศัยวินัยในตนเองเพื่อสร฾างอนาคตในการด ารงชีวิต

                       ลักษณะผู฾สอน: ต฾องบังคับเคี่ยวเข็ญให฾เด็กมีประสบการณ์ มีระเบียบวินัย
                       ลักษณะศิลปะ: สร฾างผลงานเพื่อใช฾ในชีวิตประจ าวัน (งานช฽างฝีมือ)

                       2. ยุคประสบการณ์นิยม (Experimentalism)

                        มีความเปลี่ยนแปลงแนวคิดในการจัดการศึกษาในยุโรปหลายอย฽าง นักวิชาการที่ส าคัญ

               ได฾แก฽ จอห์น ดิวอี้ (John Dewey) น าเสนอทฤษฏีประสบการณ์นิยม (Experimentalism) หรือ

               ปฏิบัติการนิยม (Pragmatism) มาใช฾กับการศึกษา ลดการสอนแบบเคร฽งครัดตามผู฾สอนให฾น฾อยลง
               ให฾ความส าคัญกับผู฾เรียนมากขึ้น นักเรียนควรมีประสบการณ์ตรงกับการเรียน ได฾พิสูจน์และทดลอง

               ปฏิบัติด฾วยตนเองเพื่อให฾เกิดความเข฾าใจและการแก฾ปัญหาได฾ ครูผู฾สอนลดบทบาทจากความเป็นผู฾ให฾

                                                    ฽
                                                                                     ี้
               ความรู฾เป็นผู฾คอยช฽วยเหลือแนะน าวิธีการตางๆมากขึ้น ทฤษฏีประสบการณ์นิยมนได฾รับความนิยมมาก
               ในยุโรปตะวันตกและส฽งผลต฽อการน าความเปลี่ยนแปลงในประเทศไทย เช฽นกัน
                       ในปีพุทธศักราช 2475 สมัยรัชกาลที่ 7 ประเทศไทยได฾เปลี่ยนการปกครองจากระบอบ

                                   ์
               สมบูรณาญาสิทธิราชย (Absolute Monarchy) มาเป็นระบอบประชาธิปไตย (Democracy) มีการ

                                                       ~ 64 ~
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77