Page 68 - 003
P. 68

ในประเทศสหรัฐอเมริกานักวิชาการชื่อ Georgette Yakman, 2006 ที่ได฾น าศิลปะเข฾ามา

               บูรณาการร฽วมหรือเป็นฐาน (Art Base) ให฾กับวิชาด฾านการอ฽าน การเขียน การคิดทางตรรกะ
                                     ฽
               คณิตศาสตร์ซึ่งเดิมเรียกวา STEM Education และเมื่อน าวิชาศิลปะมาเป็นฐานจึงได฾เปลี่ยนมาเป็น
                                                                ฾
               ค าว฽า STEAM เพื่อให฾นักเรียนได฾เรียนรู฾ผ฽านการศึกษาดานศิลปะเพื่อให฾ผู฾เรียนได฾เรียนรู฾วิธีการ
               ปฏิบัติอย฽างสร฾างสรรค์และสนุกสนาน

                       การศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21 ได฾พัฒนามาจากยุคพัฒนาการของไทยตามพัฒนาการทาง

               สังคมคือ 1.0 ยุคเกษตรกรรม 2.0 ยุคอุตสาหกรรม 3.0 ยุคโลกาภิวัตน์ และ 4.0 ยุคผลิตภาพหรือ
               ยุคที่มุ฽งเน฾นการสร฾างผลผลิตที่เป็นประโยชน์ต฽อสังคม จึงมุ฽งเน฾นให฾คนมีการคิดวิเคราะห์และคิดอย฽าง

               สร฾างสรรค์ มีการน าเอารูปแบบการจัดการเรียนรู฾จากต฽างประเทศมาผสมผสานกับการศึกษาของ

               ไทยที่มีอยู฽แล฾วเพื่อน ามาพัฒนาประเทศ โดยเน฾นกระบวนการเรียนรู฾มากกว฽าความรู฾ เน฾นให฾คนในชาต ิ

               มีความคิดสร฾างสรรค์ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดอย฽างมีวิจารณญาณและอื่นๆ มีการ
               น าศิลปะมาเป็นฐาน (ABL: Art Based Learning) เพื่อส฽งเสริมการจินตนาการและความคิด

               สร฾างสรรค์ของผู฾เรียน ผนวกกับการจัดการเรียนรู฾สร฾างสรรค์เป็นฐาน (CBL: Creativity Based

               Learning) และการสอนแบบใช฾ปัญหาเป็นฐาน (PBL: Problem Based Learning) โดยทั้งหมดเน฾น

                                                              ฾
               ไปในแนวเดียวกันคือการท าให฾ผู฾เรียนเกิดทักษะใน 4 ดานคือ ทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการ
               ค฾นคว฾าหาความรู฾ ทักษะด฾านการสื่อสาร และทักษะการคิดสร฾างสรรค์

                       การเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 ยังเน฾นกระบวนการเรียนการสอนแบบ Active

               Learning: AL หรือการเรียนรู฾แบบผู฾เรียนมีส฽วนร฽วม เป็นการน าเอาทฤษฏีของเพียเจต์ (Child

               Center Theory) มาพัฒนาโดยผู฾เรียนได฾ลงมือปฏิบัติจริงด฾วยตนเอง (Learning by Doing) และ
               วิจารณ์ พานิช (2560) ได฾น าเสนอทักษะ 3Rs 7Cs เพมเติมประกอบด฾วย ทักษะด฾านการคิดอย฽างมี
                                                                ิ่
               วิจรณญาณ (Critical Thinking) ทักษะด฾านการสร฾างสรรค์(Creativity) ทักษะด฾านการสื่อสาร

               (Communication) ทักษะด฾านความเข฾าใจต฽างวัฒนธรรม (Cross-cultural Understanding) ทักษะ

               ด฾านความร฽วมมือ (Collaboration) ทักษะด฾านคอมพิวเตอร์ (Computing ICT) และทักษะด฾านอาชีพ
               (Career)



               9. สรุปบทเรียน

                       การเรียนรู฾ทฤษฏีต฽างๆที่นักวิชาการในอดีตได฾ท าการศึกษาค฾นคว฾ามาก฽อนหน฾านี้ มีประโยชน ์

               ในการส฽งเสริมความเข฾าใจการจัดการเรียนการสอนในหลายด฾าน แต฽ละทฤษฏีมีคุณค฽าที่แตกต฽างกัน

               จึงเป็นประโยชน์ที่จะศึกษาและท าความเข฾าใจ ตัวอย฽างที่น ามาให฾ในบทเรียนนี้ ได฾แก฽ ทฤษฏีการรับรู฾
                                                                       ี
               ทฤษฏีการเรียนรู฾ ทฤษฎีแห฽งการสร฾างสรรค์ด฾วยปัญญา  ทฤษฏศิลปศึกษาเชิงแบบแผน ทฤษฏ    ี
               พัฒนาการวาดภาพของเดก ทฤษฏีความคิดสร฾างสรรค์ของเด็ก ทฤษฏีสุขารมย์ ทฤษฏีรูปทรงนิยม
                                      ็

                                                       ~ 60 ~
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73