Page 67 - 003
P. 67
จังหวะขององค์ประกอบศิลป ในงานดนตรีจะเป็นการจัดจังหวะของเสียงที่เร็วหรือชา สูงหรือต่ า
สวนในงานนาฏศิลปอาจหมายถึงลีลาในการเคลื่อนไหวตางๆ จังหวะโดยรวมหมายถึงความตางของ
วัตถุเมื่อน ามาจัด ซึ่งอาจหมายถึงความตางของขนาดและความตางของระยะในการจัดวาง
2.6 ทิศทาง (Direction)ทิศทาง เป็นอีกลักษณะหนึ่งของการเคลื่อนไหวที่ท าใหเกิดความ
นาสนใจ เชน วัตถุสิ่งของในงานจิตรกรรมมีทิศทางการเอียงไปดานซายหรือการเอียงไปดานขวา
วัตถุในงานประติมากรรมใหรูสึกเหมือนจะเดินหรือเหมือนจะวิ่งหรือเหมือนจะเหาะไปบนอากาศ เป็น
ตน ซึ่งทิศทางในงานศิลปะจะเป็นตัวน าสายตาใหกับการมอง ตัวอยาง เชน ในงานจิตรกรรมลัทธิ
แบบอ฿อฟ อาร์ต (Op Art) เป็นการสรางมิติลวงตาเมื่อมองดูจะท าใหเกิดการเคลื่อนไหวในภาพอยาง
ไมหยุดนิ่ง
2.7 ทัศนียภาพ (Perspective)ทัศนียภาพ เป็นเทคนิคในการสรางภาพใหเกิดเป็นภาพที่มี
ลักษณะใกลเคียงกับความเป็นจริงดวยการแสดงระยะใกลและไกลของภาพ โดยการใชกฎเกณฑ์ใน
การรวมจุดสายตาที่เรียกวา “แวนนิสชิ้งฟูอย” (Vanishing Points) ซึ่งจะมีตั้งแต 1 จุด 2 จุด และ
3 จุด เป็นตน การจัดทัศนียภาพมักปรากฏในงานประเภทสองมิติ เชน การวาดภาพ การออกแบบ
และงานจิตรกรรม
2.8 ความหลากหลาย (Variety) ความหลากหลาย หมายถึงการน าทัศนธาตุหลายๆอยาง
มารวมตัวกันท าใหเกิดผลงานที่มีหลายสิ่งหลายอยางในผลงานแตละชิ้น ความหลากหลายท าใหเกิด
ความตื่นเตนและนาสนใจ เชน ผลงานศิลปะหนึ่งชิ้นอาจมีความหลากหลายในการใชเสน สี รูปราง
รูปทรง พื้นผิว และชองวาง เป็นการใชองค์ประกอบที่ยังรักษาความเป็นเอกภาพไวได
8. ทฤษฏีการสอนศิลปะในศตวรรษที่ 21
ในศตวรรษที่ 21 ผูมีบทบาทในการก าหนดการจัดการศึกษาแหงชาติไดพยายามออกแบบ
การเรียนการสอนเพอใหผูเรียนมีสวนรวมมากที่สุด มีการน ากระบวนการเรียนรูแบบผูเรียนมีสวน
ื่
รวม(Active Learning) และกระบวนการเรียนรูแบบผูเรียนเป็นศูนย์กลาง (Child Center or
Student Center) มาใชอยางกวางขวางมากยิ่งขึ้น ทฤษฏีการเรียนการสอนในอดีตถกน าขึ้นมา
ู
เพิ่มเติมปรับปรุงใหมีความทันสมัยมากขึ้น เชน ทฤษฏีการเรียนรูของเพียร์เจต์ (Piaget) ไดรับการ
พัฒนาใหเป็นทฤษฏีการสรางองค์ความรูดวยตนเอง หรือ คอนสตรัคติวิสม์ (Constructionist) โดย
ศาสตราจารย์ซีมัวร์ เพเพอร์ท (Seymour Papert) ทฤษฏีที่ไดน ามาพัฒนาคือ ทฤษฏีการเรียนรู
ตามแนวคิดของบลูม (Revise Bloom’s Taxonomy Revised, 2001) ปรับปรุงโดยนักวิชาการ 2
ิ
ทานคือ Anderson และ Krathwohl และทฤษฏีความคดสรางสรรค์เดิมไดพัฒนาเป็นทฤษฏีการคิด
นอกกรอบ (Lateral Thinking) โดย De Bono, 1984-1990. Hornby, 1982. และอีกหลายทฤษฏีที่
ไดน ากลับมาพัฒนาใชในกระบวนการจัดการเรียนการสอน
~ 59 ~