Page 71 - 003
P. 71
เนื้อหาบทที่ 4
การสอนวิชาศิลปะและหลักสูตรศิลปะ
หลักสูตรศิลปะเป็นรูปแบบการจัดระบบการเรียนการสอนวิชาศิลปะที่ใชในโรงเรียน โดยครู
ุ
ยึดหลักสูตรเป็นส าคัญ เพื่อใหการเรียนการสอนเหมาะสมและสอดคลองตามวฒิภาวะและ
ความสามารถของผูเรียน มีการวางแผนการสอนซึ่งประกอบดวย จุดมุงหมาย เนื้อหา กิจกรรม สื่อ
การสอน และการประเมินผลที่ชัดเจน
1. การสอนวิชาศิลปะในประเทศไทย
การสอนศิลปะของไทยแบบดั้งเดิมไมไดอยูในระบบของสถานศึกษาหรือโรงเรียนมากอน เป็น
ี
การศึกษาดวยวิธการถายทอดทักษะปฏิบัติจากบรรพบุรุษสูลูกหลานที่เป็นเครือญาติและครูบา
ิ
์
อาจารย์ถายทอดทักษะการสรางสรรค์งานใหกับลูกศษยคนสนิท ศิลปะในอดีตเป็นงานประเภท
หัตถกรรมหรือหัตถศิลป ที่เป็นงานที่สรางดวยมือและสวนใหญสรางเพื่อประโยชน์ใชสอยใน
ชีวิตประจ าวัน ผูหญิงจะเรียนรูงานประเภทไมยุงยากแตมีความสวยงามท าจากวัสดุธรรมชาติ ที่หา
ไดงายในแตละทองถิ่น เชน งานทอผาจากฝูายและไหม งานสานจากไมไผและหวาย งานปั้นจากดิน
งานรอยมาลัยจากดอกไม เป็นตน สวนงานผูชายจะเป็นงานยากใชเวลานานและใชทักษะสูง เชน
สรางบาน สรางวัด สรางวัง สรางพระพุทธรูป สรางเรือ สรางเกวียน สรางอุปกรณ์ดักจับสัตว์
และสรางอาวุธ เป็นตน
ลักษณะศิลปะในสมัยสุโขทัยและอยุธยา มีเนื้อหาเกี่ยวของกับความเชื่อทางศาสนา
โดยเฉพาะศาสนาพุทธ มีการถายทอดรูปลักษณะของงานโดยชางฝีมือจากราชส านักอยางตอเนื่อง
เรื่อยมาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนตนจึงเริ่มไดรับอิทธิพลการสรางงานศิลปะในรูปแบบแปลกใหม
ิ
จากชาวตางชาต
เริ่มตนในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวรัชกาลที่ 3 มีความเปลี่ยนแปลงทาง
สังคมและเศรษฐกิจทั่วโลก พอคาชาวจีนไดเขามาคาขายในไทยมากขึ้นและไดน ารูปแบบศลปะจีนมา
ิ
เผยแพรในประเทศไทยดังปรากฏมีสิ่งกอสรางที่เป็นอาคารทรงจีนปรากฏอยูทั่วไป ประติมากรรม
แกะสลักหินแบบจีน เป็นตน ตอมาในรัชกาลที่ 4 ประเทศไทยไดรับอิทธิพลศิลปะแบบยุโรป
ตะวันตกทั้งดานสถาปัตยกรรม ประติมากรรม และจิตรกรรม ศิลปินไทยในประวัติศาสตร์อยางทาน
ขรัวอินโขง ที่มีชีวิตอยูในชวงรัชกาลที่ 3 และที่ 4 ไดสรางงานจิตรกรรมฝาผนังตามแบบศิลปะลัทธิ
ประทับใจของยุโรป ดังที่ปรากฏในพระอุโบสถวัดบวรนิเวศและวัดบรม จนถึงสมัยพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 ไดน า สถาปนิก จิตรกร ประติมากร ชาวยุโรปเขามาท างาน
ในประเทศไทย มีการจัดตั้งโรงเรียนตามแบบยุโรปเป็นครั้งแรก (วิรุณ ตั้งเจริญ, 2534. อางถึงใน
บรรจงจิต เรืองณรงค์, 2551 )
~ 63 ~