Page 73 - 003
P. 73
น าคานิยมแบบตะวันตกมาใชในดานกฎหมายและสิทธิของประชาชน สนับสนุนใหประชาชนไดรับ
การศึกษาในสถานศึกษามากขึ้น มีการกอตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากร (พ.ศ. 2486) เพื่อเป็นที่สอนวิชา
ศิลปะโดยตรง มีอาจารย์ชาวตางประเทศ เชน ศิลป พีระศรี (Silpa Bhirasri หรือชื่อเดิม Corrado
Feroci) ชาวอิตาลี มาวางรากฐานวิชาศิลปะที่ใชสอนในมหาวิทยาลัยตามแบบการเรียนการสอนใน
ยุโรปตะวันตก เชน วาดเขียนจากหุนจริง ประติมากรรม การออกแบบตัวอักษร การระบายสีน้ ามัน
และการท าแมพิมพ์ ขณะเดียวกันในระดับอุดมศึกษายังมีการสอนวิชาเกี่ยวกับประเพณีไทยดั้งเดิม
เพื่อเป็นการอนุรักษ์ เชน การเขียนภาพลายไทย และงานหัตถกรรมไทย
สรุปการจัดการสอนแบบประสบการณ์นิยม ดังนี้
ลักษณะผูเรียน: รูจักพัฒนาและแสวงหาความรูดวยตัวเอง
ลักษณะผูสอน: เป็นผูใหค าแนะน าใหผูเรียนไดเขาใจปัญหาและวิธีการแกปัญหา
ลักษณะศิลปะ: สงเสริมความคิดสรางสรรค์และการใชวสดุทองถิ่นที่หลากหลาย
ั
3. ยุคพิพัฒนาการนิยม (Progressivism)
มีความเปลี่ยนแปลงของสังคมอยางมากหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สงบลง สังคมทั่วโลกให
การยอมรับวาการศึกษามีความส าคัญกับชีวิตความเป็นอยูมาก ประเทศพัฒนาแลวอยางประเทศ
สหรัฐอเมริกา (USA) ไดเขามามีบทบาทส าคัญในการเป็นผูน าในการศึกษา จอห์น ดิวอี้ (John
Dewey) ใหความสนใจในการจัดการศึกษาแนวใหมคือ เด็กเป็นศูนย์กลาง (Child Centered) ครูท า
หนาที่เป็นคนคอยชวยเหลือตามความสนใจของผูเรียน เนนใหเด็กรูจักการแกปัญหาดวยตนเองโดยมี
ครูคอยใหการสนับสนุนดานการจัดประสบการณ์ที่เหมาะสม ยอมรับในความแตกตางของผูเรียน
หนังสือ “ศิลปะคือประสบการณ์” (Art as Experience) ของจอห์น ดิวอี้ เผยแพรแนวคิดไปทั่วโลก
นักวิชาการศึกษาไทยที่เคยไปศึกษาที่ประเทศสหรัฐอเมริกาเชน ศาสตราจารย์อารี สุทธิ
พันธ์ สอนที่มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒประสานมิตร และศาสตราจารย์วิรัตน์ พิชญไพบูลย์ สอน
ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไดน าแนวคิดวิธีการสอนศิลปศึกษาจากสหรัฐอเมริกามาประยุกต์ใชใน
์
ไทย หลักการส าคัญคือ การจัดการเรียนการสอนโดยใหเด็กเป็นศูนยกลาง สอนใหเด็กเขาใจ
กระบวนการสรางสรรค์ผลงานมากกวาใหความส าคัญกับผลงานที่ส าเร็จ ผูเรียนเกิดความคิด
สรางสรรค์ (Creativity) มีวัตถุประสงค์เพิ่มเติมคือเพื่อสงเสริมพัฒนาการดานรางกายและจิตใจ
ของผูเรียนในหลายดาน ไดแก
ดานรางกาย (Physical Growth)
ดานปัญญา (Intellectual Growth)
ดานสังคม (Social Growth)
ดานอารมณ์ (Emotional Growth)
ดานการรับรู (Perceptional Growth)
~ 65 ~