Page 78 - 003
P. 78
มาตรฐาน ศ 1.1 สรางสรรค์งานทัศนศิลปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค์
วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยาง
อิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใชในชีวิตประจ าวัน
มาตรฐาน ศ 1.2 เขาใจความสัมพันธ์ระหวางทัศนศลป ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม
ิ
เห็นคุณคางาน ทัศนศิลปที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาทองถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล
4. เนื้อหาศิลปะในระดับประถมศึกษา
การจัดการเรียนการสอนวิชาศิลปศึกษาไมไดมีกฎเกณฑ์หรือหลักการที่ตายตัวในดานเนื้อหา
สาระ มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเนื้อหาใหเขากับสภาพแวดลอมและความตองการของผูเรียนอยาง
ตอเนื่อง ถึงแมในปัจจุบันจะมีการเปลี่ยนแปลงค าศัพท์จาก “วิชาศิลปศึกษา” ไปเป็น “วิชาศิลปะ” ใน
ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาแตสาระส าคัญยังคงเดิม
เนื้อหาสาระศิลปะในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ครอบคลุมทฤษฏ ี
ศิลปะในดานศิลปะใน 2 ดานคือ ดานทักษะปฏิบัติ ประกอบดวย ทัศนศิลป ดนตรี นาฏศิลป และ
ดานความรูที่เป็นทฤษฏีศิลปประกอบดวย ประวัติศาสตร์ สุนทรียภาพ และการวิจารณ์งานศิลปะ
มีหนวยการเรียนรู 9 หนวยดังนี้
หนวยที่ 1 พื้นฐานงานศิลป (ทัศนศิลป)
ิ
หนวยที่ 2 สรางสรรค์งานศิลป (ทัศนศลป)
หนวยที่ 3 งานศิลปกับวัฒนธรรม (ทัศนศิลป)
หนวยที่ 4 องค์ประกอบดนตรี (ดนตรี)
หนวยที่ 5 ทักษะดนตรี (ดนตรี)
หนวยที่ 6 ดนตรีกับมรดกทางวัฒนธรรม (ดนตรี)
หนวยที่ 7 นาฏศิลปในทองถิ่น (นาฏศิลป)
หนวยที่ 8 การแสดงนาฏศิลปและการละคร (นาฏศิลป)
หนวยที่ 9 การชมการแสดงนาฏศิลปไทย (นาฏศิลป)
ศิลปะทั้ง 3 สาระ (ทัศนศิลป ดนตรี นาฏศิลป) เป็นวิชาที่ชวยใหผูเรียนมีความคิดริเริ่ม
สรางสรรค์ มีจินตนาการ ชื่นชมความงาม มีสุนทรียภาพและเห็นคุณคาของศิลปะที่มีผลตอคุณภาพ
ที่ดีของมนุษย์ และท าใหผูเรียนไดเขาใจบทบาทหนาที่ของตนเองที่มีตอสังคม (กรมวิชาการ, 2551)
1. ดานทัศนศิลป
ทัศนศิลป มีเนื้อหาเกี่ยวกับทัศนธาตุ การจัดองค์ประกอบศิลป การน าเสนอผลงานจากการ
จินตนาการ การใชสื่อวัสดุอุปกรณ์ที่เหมาะสม สามารถใชเทคนิควิธีการของศิลปินมาประยุกต์ใชใน
การสรางสรรค์ผลงานใหมีประสิทธิภาพ เขาใจทัศนศิลปทางดานประวัติศาสตร์และมรดกทาง
~ 70 ~