Page 82 - 003
P. 82
ิ
ที่เป็นครูและลูกศษย์ที่ไดรับการคัดเลือกอยางดวยความสนิทสนม จนเมื่อประเทศไทยไดรับอิทธิพล
จากการศึกษาตางประเทศที่พัฒนาแลวท าใหมีการสรางโรงเรียนเพื่อสอนวิชาการโดยมีเปูาหมายใน
การพัฒนาคนใหเป็นประชาชนเพื่อมาเป็นก าลังในการพัฒนาประเทศชาติ มีการน าหลักสูตรตางชาต ิ
ิ
มาพัฒนาปรับปรุงใหเขากับลักษณะเศรษฐกจและสังคมไทย หลักสูตรการศึกษาไทยไดพัฒนามา
ตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 5 ตอเนื่องเรื่อยมาจนถึงสมัยรัชกาลปัจจุบันคือรัชกาลที่ 10 โดยมีวัตถุประสงค์
ส าคัญคือใหผูเรียนไดเห็นคุณคาของการเรียนการสอนวิชาศิลปะที่มีผลตอการพัฒนาดานสังคมไทย
ใหมีความเจริญกาวหนาตอไป
7. เอกสารอ้างอิง
กรมวิชาการ.( 2545). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544.
ุ
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์องค์การรับสงสินคาและพัสดภัณฑ์ กระทรวงศึกษาธิการ.
เกสร ธิตจารี. (2543). กิจกรรมศิลปะส าหรับครู. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
บรรจงจิต เรืองณรงค์. (2551). ศึกษาการจัดการเรียนรูกลุมสาระศิลปะ (ทัศนศิลป) ของ
โรงเรียนในสังกัด ส านักงานราชเทวี กรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรว ิ
โรฒ ประสานมิตร.
พีระพงษ์ กุลพิศาล. (2546). ศิลปะการศึกษาชีวิตและสังคมมโนภาพและการรับรูทางศิลปะ
และศิลปศึกษา.กรุงเทพมหานคร: ธารอักษร.
วิรุณ ตั้งเจริญ . (2534). ศิลปะสมัยใหมในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: โอ เอส พริ้น
ติ้ง เฮา.
วิบูลย์ ลี้สุวรรณ. (2542). ศิลปะสมัยใหมและศิลปะรวมสมัยในประเทศไทย.
กรุงเทพมหานคร: ตนออ.
วุฒิ วัฒนสิน. (2542). ศิลปะระดับมัธยมศึกษา. ปัตตานี: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ส านักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2551). การจัดสาระการเรียนรูกลุมการเรียนรู
ศิลปะ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร:
กระทรวงศึกษาธิการ.
อัศวิน ศิลปเมธากุล. (2552). เอกสารประกอบการสอนวิชาศิลปศึกษาส าหรับครู
ประถมศึกษาปัตตานี: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
~ 74 ~