Page 79 - 003
P. 79
วัฒนธรรมสาระทัศนศิลปจะเนนการปฏิบัติจากงายไปหายากตามระดับชวงชั้น ประกอบดวยกิจกรรม
ประเภท การวาดภาพ การระบายสี การปั้น การแกะสลัก การท าภาพพิมพ์ และการออกแบบ
สรางสรรค์จากเศษวัสดุ
ชั้น ป.1 – ป.3 (ชวงชั้นที่ 1) มีเนื้อหาเกี่ยวกับ การถายทอดความคิด จินตนาการ
ความรูสึกความประทับใจ ดวยวิธีการตางๆ ทางทัศนศิลป การสังเกต รับรูสิ่งรอบตัว การสรางงาน
ทัศนศิลปโดยวิธีการตางๆ สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ การท ากิจกรรมอยางปลอดภัย การแสดงออกถึงการ
รับรูความงาม การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปทรง การน าความรูทางทัศนศิลปมาใชใน
ชีวิตประจ าวัน
ชั้น ป. 4 – ป.6 (ชวงชั้นที่ 2) มีเนื้อหาเกี่ยวกับการสื่อความคิดจินตนาการประสบการณ์ใน
์
รูปแบบตางๆ การส ารวจและทดลองสรางสรรค์งานทัศนศิลปโดยใชเทคนิคใหมๆ การเลือกใช วัสดุ
อุปกรณ์ การรับรูความงามในทัศนศิลป การแสดงออกถึงความงามดวยวิธีการตางๆ การน าความรู
ทางศิลปะมาใชกับกลุมสาระการเรียนรูอื่น
เป็นการสรางสรรค์ผลงานศิลปะ เพื่อสรางประสบการณ์ตรงดานทักษะและกระบวนการ
ท างาน เมื่อผูเรียนไดฝึกฝนบอยๆจะเกดความช านาญ สวนกระบวนการที่จะเกิดขึ้นไดแก การคิด
ิ
การจินตนาการ การแกปัญหาและการสรางสรรค์ผลงานจนส าเร็จ ซึ่งเป็นกระบวนการที่มี
ความส าคัญในการท างานทุกขั้นตอน
2. ดานดนตรี
เป็นสาระที่ฝึกประสาทสัมผัสและทักษะดานการละเลนเครื่องดนตรีและการใชเสียงเพื่อ
สื่อสารนักเรียนจะไดเรียนรูเกี่ยวกับองค์ประกอบของดนตรี การแสดงออกอยางสรางสรรค์ การ
วิจารณ์และการถายทอดความรูสึกผานเครื่องดนตรี
ชั้น ป.1 – ป.3 (ชวงชั้นที่ 1) ศึกษาเรียนรูเกี่ยวกับแหลงก าเนิดของเสียงและคุณสมบัติของ
เสียงตนตรี เนื้อหาในบทเพลง การเลนเครื่องดนตรีประกอบเพลง การขับรอง ลักษณะของเสียงรอง
และเสียงเครื่องดนตรีที่ใชในเพลงทองถิ่นการแสดงและเขารวมกิจกรรมทางดนตรีในโอกาสพิเศษ
ชั้น ป. 4 – ป.6 (ชวงชั้นที่ 2) ศึกษาเรียนรูประเภทเสียงของเครื่องดนตรี ความแตกตาง
ของท านองดนตรี รูปแบบจังหวะในเพลงที่ฟัง การอานและเขียนโนตดนตรีไทยและสากล การขับ
รองเพลง การใชและเก็บเครื่องดนตรีอยางถูกตองและปลอดภัย ดนตรีในวิถีชีวิตไทย ดนตรีใน
ทองถิ่น การอนุรักษ์และสงเสริมวัฒนธรรมทางดนตรี
3. ดานนาฏศิลป
มีเนื้อหาเกี่ยวกับองค์ประกอบของนาฏศิลป การถายทอดอารมณ์ดวยการเคลื่อนไหวของ
รางกายในรูปแบบตางๆ เห็นคุณคาทางวัฒนธรรมของไทยและสากล
~ 71 ~