Page 80 - 003
P. 80

ชั้น ป. 1 – ป.3 (ช฽วงชั้นที่ 1) ศึกษาเรียนรู฾และฝึกปฏิบัติ รูปแบบการเคลื่อนไหวของร฽างกาย

               การแสดงท฽าทางเพื่อสื่อความหมาย การใช฾ภาษาท฽าและนาฏยศัพท์ประกอบจังหวะ ประวัติความ
               เป็นมาของการละเล฽นพื้นเมืองและมารยาทในการชมการแสดง

                       ชั้น ป. 4 – ป.6 (ช฽วงชั้นที่ 2) ศึกษาเรียนรู฾และฝึกการละครง฽ายๆ ในการถ฽ายทอดเรื่องราว

               การประดิษฐ์ท฽าร าประกอบหวังหวะพื้นเมือง การแสดงนาฏศิลป฼ประเภทคู฽และหมู฽ การเล฽าเรื่อง

               ประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป฼ท฾องถิ่น คุณค฽าและการสืบทอดการแสดงนาฏศิลป฼

                       4. ด฾านทฤษฏีศิลป฼ (ประวัติศาสตร์ สุนทรียภาพและการวิจารณ์)
                       ในระดับประถมศึกษา (ป.1-6) ไม฽มีชื่อวิชาเกี่ยวกับทฤษฏีศิลปะอย฽างชัดเจนแต฽เป็นการ

               สอดแทรกเนื้อหาปะปนไปกับวิชาศิลปะปฏิบัติทั้งสามสาระ (ทัศนศิลป฼ ดนตรีและนาฏศิลป฼) ผสอน
                                                                                                ู฾
                                                                ั
               สามารถแทรกเนื้อหาเข฾าไปในวิชาปฏิบัติได฾ เช฽น การยกตวอย฽างผลงานศิลปะในอดีตด฾วยการอธิบาย
               หรือบรรยายประกอบการสอนปฏิบัต
                                               ิ
                       เนื้อหาประวัติศาสตร์ศิลป฼ (Art History) คือความเป็นมาของการสร฾างสรรค์ผลงานศิลปะ

               ในทุกสาขา โดยมีผู฾บันทึกเหตุการณ์ไว฾อย฽างมีหลักฐาน เนื้อหาประกอบด฾วยเรื่องราวที่เกี่ยวกับการ

               สร฾างสรรค์งานศิลปะตั้งแต฽สมัยอดีตจนถึงปัจจุบันของศิลปินในแต฽ละชนชาติ การศึกษาจะแบ฽งเนื้อหา

                                                                ุ
               เกี่ยวกับ การศึกษาแนวความคิด วิธีการสร฾างงาน วัสดุอปกรณ์ ปัญหาและอุปสรรคต฽างๆ ความรู฾
               จากอดีตผู฾ศึกษาในปัจจุบันสามารถน ามาประยุกต์ใช฾ในการสร฾างสรรค์ผลงานได฾ ในต าราเรียนของ

               นักเรียนจะแบ฽งออกเป็นการศึกษาประวัติศาสตร์ศิลปะไทยและประวัติศาสตร์ศิลป฼นานาชาติ (สากล)

                       เนื้อหาสุนทรียศาสตร์ (Aesthetics) คือความซาบซึ้งในความงามของศิลปะและสิ่งแวดล฾อม

               เป็นการปลูกฝังความเข฾าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณีอันดีงาม ก฽อให฾เกิดเป็นรสนิยมที่ดี มีการ
               แสวงหากิจกรรมที่จะส฽งเสริมให฾สังคมได฾อยู฽ด฾วยกันอย฽างมีความสุข อีกนัยหนึ่งคือ เป็นการกล฽าวถึง

               ผลงานศิลปะในความรู฾สึกในเชิงคุณภาพ

                       เนื้อหาการวิจารณ์งานศิลปะ (Art Criticism) คือการเรียนการสอนที่ให฾ผู฾เรียนได฾เรียนรู฾

               เกี่ยวกับการใช฾เหตุผลในการตัดสินผลงานศิลปะ ด฾วยการรับรู฾ การรู฾จักวิเคราะห์ การตีความหมาย
               และการประเมินผลงาน อีกนัยหนึ่งคือ การกล฽าวถึงผลงานศิลปะในแนวความคิดวิเคราะห์ การ

               วิจารณ์งานศิลปะส฽วนใหญ฽จะใช฾วิธีการสอดแทรกในการอธิบายผลงานศิลปะ เพื่อให฾ผู฾เรียนได฾ศึกษา

               ถึงจุดมุ฽งหมายในการสร฾างสรรค์งานศิลปะในสมัยต฽างๆ ให฾มองเห็นความหมายในหลายแง฽มุม เช฽น

               ด฾านประเพณี ด฾านการเมืองการปกครอง และด฾านคุณธรรมจริยธรรม เข฾าใจ แสดงความคิดเห็น

               และกล฾าแสดงออก
                       ชั้น ป.1 – ป.3 (ช฽วงชั้นที่ 1) มีเนื้อหาเกี่ยวกับ ความเป็นมาของสิ่งรอบตัวที่เกี่ยวข฾องกับงาน

               ทัศนศิลป฼ คุณค฽าและความส าคัญของงานศิลปะ วัฒนธรรมประเพณีและภูมิปัญญาท฾องถิ่น





                                                       ~ 72 ~
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85