Page 81 - 003
P. 81

ชั้น ป.4 – ป.6 (ช฽วงชั้นที่ 2) มีเนื้อหาเกี่ยวกับ ความเป็นมาของศิลปะในท฾องถิ่นและศิลปะ

                   ไทยคุณค฽าของงานศิลปะที่เกี่ยวข฾องกับวัฒนธรรมประเพณี ภูมิปัญญาท฾องถิ่น ภูมิปัญญาไทย ความ
                   รักและหวงแหนวัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทยสู฽สากล



                   5. การน าหลักสูตรไปใช้

                          ปัจจุบันกระทรวงศึกษาธิการมีบทบาทและหน฾าที่ในดูแลหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน

                   แกนกลาง ที่ก าหนดให฾โรงเรียนทั่วประเทศได฾ใช฾เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอน โดยแต฽ละ

                   สถานศึกษาสารถปรับปรุงหลักสูตรให฾มีความเหมาะสมกบสภาพแวดล฾อมได฾ แนวทางในการน า
                                                                    ั
                   หลักสูตรไปใช฾ให฾เกิดประโยชน์สูงสุด  แต฽การน าหลักสูตรไปใช฾เป็นขั้นตอนที่มีความส าคัญ เพราะผู฾ใช฾

                   จะต฾องมีความเข฾าใจและมีการวางแผนร฽วมกันอย฽างดีจึงจะสามารถพัฒนาการเรียนการสอนได฾ตรง

                   เปูาหมายที่ต฾องการ

                          ครูผู฾สอนเป็นบุคคลกรทางการศึกษาที่มีความส าคัญในสถานศึกษาที่จะท าให฾หลักสูตร
                   ประสบความส าเร็จหรือล฾มเหลวเพราะเป็นผู฾ที่จะน าหลักสูตรไปใช฾โดยตรง เพราะฉะนั้นจึงเป็นเรื่อง

                   ส าคัญที่ผู฾บริหารสถานศึกษาจะต฾องเตรียมครูผู฾สอนให฾มีความรู฾ความเข฾าใจโครงสร฾างและเนื้อหา

                   ตลอดจนสาระอื่นๆที่ปรากฏในเอกสารที่เป็นตัวหลักสูตร ครูศิลปะก็เช฽นเดียวกันกับครูสาระอื่นๆที่

                   จะต฾องทราบถึงจุดมุ฽งหมายของหลักสูตร เนื้อหาสาระส าคัญ กลยุทธ์ในการจัดการเรียนการสอน

                   การปกครองชั้นเรียน กรประเมินผลการเรียนรู฾ ทฤษฏีต฽างๆที่เกี่ยวข฾อง
                          ข฾อแนะน าในการใช฾หลักสูตรส าหรับครูศลปะมีดังนี้
                                                             ิ
                          1.  ศึกษาหลักสูตรฉบับปัจจุบันให฾เข฾าใจ โดยเฉพาะหัวข฾อส าคัญเกี่ยวกับหลักการ จัดมุ฽ง

                   หมาย โครงสร฾างของรายวิชา เนื้อหารายวิชา แผนการสอน การวัดและประเมินผลการเรียน คู฽มือ
                   ครู และหนังสือเรียน

                          2.  ศึกษาข฾อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสถานศึกษา สภาพชุมชน สภาพผู฾เรียน น าไปวิเคราะห์

                   สังเคราะห์ เพื่อให฾การดัดแปลง ปรับเปลี่ยน ให฾เกิดความเหมาะสม

                          3.  จัดสภาพห฾องเรียน สื่อการเรียนการสอน วัสดุอุปกรณ์ ที่เอื้อต฽อความปลอดภัยและ

                   ส฽งเสริมความคิดสร฾างสรรค์ของผู฾เรียน


                   6. สรุปบทเรียน

                          การจัดการเรียนรู฾วิชาศิลปะหรือศิลปศึกษา เป็นการเรียนรู฾ที่ต฾องค านึงถึงความรู฾และ

                   ประสบการณ์ของผู฾เรียนเป็นส าคัญ กิจกรรมทุกอย฽างมีส฽วนในการส฽งเสริมผู฾เรียนทั้งทางร฽างกาย

                   จิตใจ และอารมณ์ การจัดการเรียนการสอนตั้งแต฽อดีตจนถึงปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอย฽างต฽อเนื่อง
                   จากการสอนแบบดั้งเดิมที่ผู฾สอนและผู฾เรียนมีความใกล฾ชิดเป็นครอบครัวเดียวกัน ต฽อมาเป็นคนใกล฾ชิด


                                                           ~ 73 ~
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86