Page 76 - 003
P. 76

โดยใช฾ทฤษฎีการสอนที่ยึดเนื้อหาวิชาและใช฾รูปแบบการสอนตามแบบตะวันตก มุ฽งให฾ผู฾เรียนมีความ

                                ุ
                                  ์
               เจริญแห฽งตน มีมนษยสัมพันธ์ มีความสามารถในการครองชีพและมีความรับผิดชอบตามหน฾าที่
               พลเมือง โครงสร฾างวิชาศิลปะได฾ปรับให฾เป็นไปตามระดับชั้นเรียนคือ ในระดับประถมศึกษาตอนต฾น
               การสอนวิชาศิลปศึกษามีเปูาหมายที่จะส฽งเสริมให฾เด็กแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งต฽างๆมาเป็น

               ความงามตามทัศนของตน ให฾มีความรู฾ ความเข฾าใจและทักษะที่เหมาะสมกับวัย วิชาศิลปะแบ฽ง

               ออกเป็น การเขียนภาพและการระบายสี การขับร฾องและดนตรี

                       ปีพุทธศักราช 2511 วิชาศิลปะได฾รับการสนับสนุนมากขึ้น โดยการเปิดแผนกวิชาศิลปศึกษาที่
               วิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร ภายใต฾ผู฾มีบทบาทส าคัญคือ ศาสตราจารย์ อารี สุทธิพันธ์ ที่ได ฾

               เปิดรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีเป็นแห฽งแรกของประเทศไทย โดยใช฾หลักสูตรปรับปรุงมาจาก

               มหาวิทยาลัยในประเทศสหรัฐอเมริกา (พีระพงษ์ กุลพิศาล. 2546. อ฾างถึงใน บรรจงจิต เรือง

                     ์
               ณรงค, 2551)
                       หลักสูตรปีพุทธศักราช 2521 ศิลปะในระดับประถมศึกษาจัดอยู฽ในกลุ฽ม สลน. หรือกลุ฽ม

               สร฾างเสริมลักษณะนิสัย เน฾นการสอนให฾เป็นคนดี มีคุณลักษณะนิสัยที่ดีงาม วิธีการสอนเป็นแบบ

                 ู฾
               ผเรียนเป็นศูนย์กลาง ครูจะท าหน฾าที่เป็นผู฾เสนอแนะ ควบคุม ท฾าทายความสามารถของนักเรียนให฾
               แสดงออก น ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาใช฾เพื่อให฾นักเรียนได฾ท าการทดลองสิ่งใหม฽ๆค฾นหาสิ่ง
               ต฽างๆด฾วยตนเองและเน฾นกระบวนการแสดงออกมากกว฽าการสร฾างผลงานให฾ส าเร็จ นักวิชาการได   ฾

               เสนอแนะว฽า ผู฾สอนวิชาศิลปะไม฽จ าเป็นต฾องเป็นศิลปินที่มีชื่อเสียงหรือผู฾ที่จบจากสถาบันทางศิลปะ

               เท฽านั้น ครูทั่วไปก็สามารถสอนได฾หากมีการจัดเตรียมความพร฾อมล฽วงหน฾าและวิธีการสอนเหมาะสม

               ครูต฾องมีความเข฾าใจในจิตวิทยาการศึกษา และที่ส าคัญครูต฾องมีความเชื่อว฽าเด็กทุกคนสามารถเรียน
               ศิลปะได฾แต฽จะมีความสามารถต฽างกันและแสดงออกไม฽เหมือนกัน

                       หลักสูตรปีพุทธศักราช 2544 มีแรงผลักดันจากความเจริญก฾าวหน฾าด฾านเศรษฐกิจและสังคม

               หลังจากมีการปฏิวัติการเมืองไทยในปี พ.ศ. 2535 ผลักดันให฾เกิดรัฐธรรมนูญแห฽งราชอาณาจักรไทย

               และพระราชบัญญัติการศึกษาแห฽งชาติ และหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานในปี พ.ศ. 2544 อันเป็น
               หลักสูตรแกนกลางของประเทศ มีการจัดท าหลักสูตรสถานศึกษาทั้งในระบบและนอกระบบ

               การศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อจุดมุ฽งหมายที่มุ฽งพัฒนาคนไทยให฾เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดี  มี

               ปัญญา มีความสุข และมีความเป็นไทย มีศกยภาพในการศึกษาต฽อและประกอบอาชีพ วิชาศิลปะมี
                                                     ั
               การเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมคือ ให฾เรียกใหม฽ว฽า “กลุ฽มสาระการเรียนรู฾ศิลปะ”  แบ฽งออกเป็น 3 สาระ

               คือ สาระที่ 1 คือสาระทัศนศิลป฼ สาระที่ 2 คือสาระดนตรี และสาระที่ 3 คือสาระนาฏศิลป฼  โดย
               แต฽ละสาระมีมาตรฐานเป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอน ในสาระที่ 1 : ทัศนศิลป฼ มีมาตรฐาน

               ศ 1.1 : สร฾างสรรค์งานทัศนศิลป฼ตามจินตนาการ ความคิดสร฾างสรรค์และวิเคราะห์ วิพากษ์

               วิจารณ์ คุณค฽างานทัศนศิลป฼ ถ฽ายทอดความรู฾สึก ความคิด ต฽องานศิลปะอย฽างอิสระ ชื่นชม และ


                                                       ~ 68 ~
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81