Page 51 - 003
P. 51

ิ
                   งาน อีกนัยหนึ่งคือ การกล฽าวถึงผลงานศลปะในแนวความคิดวิเคราะห์ การวิจารณ์งานศิลปะส฽วน
                   ใหญ฽จะใช฾วิธีการสอดแทรกในการอธิบายผลงานศิลปะ เพื่อให฾ผู฾เรียนได฾ศึกษาถึงจุดมุ฽งหมายในการ
                   สร฾างสรรค์งานศิลปะในสมัยต฽างๆ ให฾มองเห็นความหมายในหลายแง฽มุม เช฽น ด฾านประเพณี ด฾าน

                   การเมืองการปกครอง และด฾านคุณธรรมจริยธรรม

                          ข฾อเสนอแนะในการน าแนวการสอนวิชาศิลปะตามทฤษฏีศลปศึกษาเชิงแบบแผนไปใช฾ ดังนี้
                                                                           ิ
                                                                            ฽
                          1.  เลือกรูปแบบการสอนให฾สอดคล฾องตามการเรียนในแตละแกน เพราะแต฽ละแกนมีจุดเน฾น
                   แตกต฽างกัน เช฽น  แกนศิลปะปฏิบัติเน฾นกระบวนการท างานและผลงานผู฾สร฾างสรรค์  แกน
                   สุนทรียศาสตร์เน฾นความรู฾ความเข฾าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฏีทางความงาม  แกนการวิจารณ์

                   ผลงานศิลปะเน฾นความรู฾ความสามารถในการวิจารณ์ผลงานศิลปะ และแกนประวัติศาสตร์ศิลป฼เน฾น

                   แนวความคิดและความเชื่อในการแสดงออกทางด฾านศิลปะที่มีต฽อวัฒนธรรมของคนตั้งแต฽อดีตมา

                   จนถึงปัจจุบัน
                          2.  กระบวนการเรียนการสอน และกระบวนการเรียนรู฾ ตามทฤษฎีศิลปศึกษาเชิงแบบแผน

                   ควรได฾รับการพัฒนาทั้งในลักษณะบูรณาการและการแยกอิสระระหว฽าง ทัศนศิลป฼ การแสดง ดนตรี

                   ทั้งเพื่อการสร฾างเอกภาพและสร฾างความโดดเด฽นเฉพาะดาน โดยพัฒนาให฾เหมาะกับวุฒิภาวะ
                                                                    ฾


                   3. ทฤษฏีศิลปะเชิงพหุปัญญา

                   (Multiple Intelligence Arts Education: MI)

                          โฮวาร์ด การ์ดเนอร์ (Howard Gardner) นักวิชาการสมัยใหม฽ได฾น าทฤษฏีการเรียนรู฾ใน


                   หลายๆรูปแบบมาประยุกต์ใช฾กับการเรียนการสอน โดยนาเสนอแนวความคิดว฽าด฾วยความฉลาดและ
                   เชาว์ปัญญาภายในตัวของมนุษย์ที่ไม฽เหมือนกัน “คนเราทุกคนล฾วนมีความฉลาด แต฽ความฉลาดของ

                   แต฽ละคนมีไม฽เหมือนกัน” ความฉลาดของคนแยกออกเป็นด฾านต฽างๆ ดังนี้

                          1. ปัญญาด฾านภาษา (Linguistic Intelligence)

                          2. ปัญญาด฾านตรรกะและคณิตศาสตร์ (Logical-Mathematical Intelligence)

                          3. ปัญญาด฾านมิติสัมพันธ์ (Visual-Spatial Intelligence)
                          4. ปัญญาด฾านร฽างกายและเคลื่อนไหว (Bodily-Kinesthetic Intelligence)

                          5. ปัญญาด฾านดนตรี (Musical Intelligence)

                          6. ปัญญาด฾านมนุษย์สัมพันธ์ (Interpersonal Intelligence)
                          7. ปัญญาด฾านคนหรือความเข฾าใจตนเอง (Intrapersonal Intelligence)

                          8. ปัญญาทางด฾านนักธรรมชาติวิทยา (Naturalist Intelligence)

                          9. ความสามารถในการใคร฽ครวญ (Existential Intelligence)

                          (สิชญน์เศก ย฽านเดิม, 2556)

                                                           ~ 43 ~
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56