Page 50 - 003
P. 50

2. ทฤษฏีศิลปศึกษาเชิงแบบแผน

               (Discipline - Based Art Education: DBAE)

                       ทฤษฏีศิลปศึกษาเชิงแบบแผน (DBAE) หรือแนวคิดทางศิลปะที่มีหลักเกณฑ์เป็นพื้นฐาน

                                               ์
               เป็นการสอนแบบเน฾นผู฾เรียนเป็นศูนยกลาง โปรแกรมการศึกษาที่ก าหนดโดยกลุ฽ม พอล เก็ตตี้ (J.
               Paul Getty Trust) ในช฽วงต฾นทศวรรษ 1980s เป็นสถาบันศิลปะที่รู฾จักกันในชื่อ Gettysburg

               Institution for the Arts เป็นแนวทางในการศึกษาวิชาศิลปะเพื่อให฾ความรู฾แก฽ผู฾เรียน เริ่มต฾นด฾วย
               การสร฾างเป็นแนวทางเพื่อนสอนศิลปะในระดับประถมศึกษาต฽อมาได฾รับการพัฒนาไปใช฾กับระดับอื่นๆ

                                                          ี
               ด฾วย ความส าคัญกับการเรียนการสอนตามทฤษฏศิลปศึกษาเชิงแบบแผนคือ การพัฒนา
               ความสามารถของผู฾เรียนให฾เข฾าใจองค์ความรู฾ของศิลปะทั้งที่เป็นทฤษฏีและการปฏิบัติการงานศิลปะ
               โดยเนื้อหาประกอบด฾วยศิลปะ 4 แกนหลักคือ

                       1.  แกนประวัติศาสตร์ศิลป฼ (Art History) มีเนื้อหาที่ว฽าด฾วยประวัติความเป็นมาของการ

               สร฾างสรรค์ผลงานศิลปะในทุกสาขา โดยมีผู฾บันทึกเหตุการณ์ไว฾อย฽างมีหลักฐาน เนื้อหาประกอบด฾วย

                                                                                           ฽
               เรื่องราวที่เกี่ยวกับการสร฾างสรรค์งานศิลปะตั้งแต฽สมัยอดีตจนถึงปัจจุบันของศิลปินในแตละชนชาติ
               การศึกษาจะแบ฽งเนื้อหาเกี่ยวกับ การศึกษาแนวความคิด วิธีการสร฾างงาน วัสดุอุปกรณ์ ปัญหาและ
               อุปสรรคต฽างๆ ความรู฾จากอดีตผู฾ศึกษาในปัจจุบันสามารถน ามาประยุกต์ใช฾ในการสร฾างสรรค์ผลงาน

                  ฾
               ได
                       2.  แกนศิลปะปฏิบัติ (Art Product) เป็นการปฏิบัติสร฾างสรรค์ผลงานศิลปะ เพื่อสร฾าง

               ประสบการณ์ตรงให฾กับผู฾เรียน ผู฾เรียนได฾เกิดการเรียนรู฾และรับรู฾จนเกิดเป็นทักษะและเมื่อได฾ฝึกฝน
               บ฽อยๆจะมีความช านาญ การได฾ปฏิบัติเป็นการใช฾ความสามารถตั้งแต฽ การคิด การท า การแก฾ปัญหา

               และการสร฾างสรรค์ผลงานจนส าเร็จ ซึ่งถือว฽าเป็นกระบวนการที่ส าคัญ ผู฾เรียนได฾มีความเข฾าใจอย฽าง

               ลึกซึ้งในการท างานทุกขั้นตอน

                       การสอนศิลปะปฏิบัติจะมีในทุกระดับชั้น โดยเริ่มตั้งแต฽ระดับอนุบาลจนถึงระดับอุดมศึกษา
               วิชาศิลปะจะเน฾นการปฏิบัติจากง฽ายไปหายาก เพื่อกระตุ฾นให฾ผู฾เรียนเกิดความสนใจในการท ากิจกรรม

               จะมีการสอนเนื้อหาสาระเกี่ยวกับ การวาดภาพ การระบายสี การปั้น การแกะสลัก การท าภาพ

               พิมพ์และการสร฾างสรรค์จากเศษวัสด
                                                ุ
                       3. แกนสุนทรียศาสตร์ (Aesthetics) เป็นแกนทฤษฏี ที่มีเนื้อหาเน฾นไปในด฾านการมีความ
               ซาบซึ้งในความงามของศิลปะ เป็นการปลูกฝังความเข฾าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณีอันดีงาม

               ก฽อให฾เกิดเป็นรสนิยมที่ดี มีการแสวงหากิจกรรมที่จะส฽งเสริมให฾สังคมได฾อยู฽ด฾วยกันอย฽างมีความสุข

               อีกนัยหนึ่งคือ เป็นการกล฽าวถึงผลงานศิลปะในความรู฾สึกในเชิงคุณภาพ

                       4. แกนศิลปวิจารณ์ (Art Criticism) เป็นแกนที่เน฾นให฾ผู฾เรียนได฾เรียนรู฾เกี่ยวกับการใช฾เหตุผล
               ในการตัดสินผลงานศิลปะ ด฾วยการรับรู฾ การรู฾จักวิเคราะห์ การตีความหมาย และการประเมินผล


                                                       ~ 42 ~
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55