Page 89 - 003
P. 89

ี
                   3. วิธสอนแบบเรียนปนเล่น
                          การสอนวิชาศิลปะแบบเรียนปนเล฽นเป็นที่นิยมใช฾กับเด็กเล็ก โดยอาศัยพฤติกรรมทาง

                   ธรรมชาติของเด็กที่ชื่นชอบการเล฽นมากกว฽าการเรียนเนื้อหาสาระ เลิศ อานันทะ (2535) นักวิชาการ

                                                         ฽
                   ได฾เสนอแนะวิธีการสอนแบบเรียนปนเล฽นไว฾วา วิธีการสอนแบบเรียนปนเล฽นเป็นวิธีการที่เหมาะสมใน
                   การส฽งเสริมพัฒนาการของเด็กในด฾านต฽างๆ เพราะกิจกรรมการเรียนปนเล฽นท าได฾หลายรูปแบบและมี

                                                                ็
                   วิธีการแสดงออกได฾อย฽างมากมาย ผู฾ใหญ฽ที่ผ฽านวัยเดกมาแล฾วจะเลือกพิจารณาให฾เหมาะสมกับโอกาส
                   และสภาพแวดล฾อมในแต฽ละท฾องถิ่นได  ฾

                          การเล฽นปนเรียนหรือการเรียนปนเล฽นมีจุดมุ฽งหมายเพื่อส฽งเสริมพัฒนาการเด็กทั้งทางด฾าน
                   ร฽างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญาภายใต฾การอ านวยความสะดวก สนับสนุน ชี้แนะ

                   ช฽วยเหลือของครูในด฾านต฽างๆ เพื่อให฾การเรียนรู฾แบบเล฽นปนเรียนเกิดประโยชน์ต฽อเด็กมากที่สุด

                          ประเภทของวธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
                                       ิ
                          ทิศนา แขมมณี ได฾เสนอ 8 แนวทางในการจัดการเรียนการสอนแบบเรียนปนเล฽นดังนี้
                          1. การเล฽นแบบส ารวจตรวจค฾น (Exploration play) เป็นการเล฽นที่มีพื้นฐานมาจากความ

                   อยากรู฾อยากเห็นของเด็กที่จะน าไปสู฽การค฾นพบการตัดสินใจและการแก฾ปัญหาใหม฽ๆ

                           2. การเล฽นแบบทดสอบ (Testing play) เป็นการเล฽นที่ส฽งเสริมการใช฾สติปัญญาในการ

                   ส ารวจสิ่งของต฽างๆ เพื่อทดสอบคุณสมบัติของสิ่งนั้นๆ

                          3. การเล฽นแบบออกก าลังกาย (Physical play) เป็นการเล฽นที่ส฽งเสริมการออกก าลังกาย
                   ช฽วยพัฒนาความสัมพันธ์ระหว฽างกล฾ามเนื้อต฽างๆ ให฾เกิดความพร฾อมในการเรียนรู฾

                          4. การเล฽นสมมุติและการเล฽นเลียนแบบ (Dramatic play and initiation) การเล฽นที่ส฽งเสริม

                   การใช฾ความคิดและจินตนาการ การสร฾างมโนภาพที่ท าให฾เด็กเข฾าใจนามธรรมมากขึ้น
                          5. การเล฽นสร฾าง (Construction play) เป็นการเล฽นที่น าประสบการณ์มาสัมพันธ์กันใน

                   รูปแบบใหม฽ ในด฾านสร฾างสรรค์ เพื่อให฾การเล฽นประสบความส าเร็จ

                          6. การเล฽นแบบสัมผัสกระท า (Manipulative play) เป็นการเล฽นที่ส฽งเสริมการสังเกตการณ์

                   การจ าแนก เปรียบเทียบและการคิดหาความสัมพันธ์ เช฽น การต฽อภาพ เป็นต฾น

                          7. การเล฽นที่ส฽งเสริมทักษะทางภาษาและความจ า (Verbal play) เป็นการฝึกทักษะในการ
                   สื่อสาร ของตนให฾ผู฾อื่นเข฾าใจได฾

                                                                           ิ
                          8. การเล฽นเกม (Games) การเล฽นที่เป็นการฝึกระเบียบวนัยด฾วยกติกา ข฾อตกลง การใช฾ไหว
                   พริบ ในการตัดสินใจ







                                                           ~ 81 ~
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94