Page 61 - 003
P. 61
การแสดงออกและจินตนาการ (Creative & Imagination ) ทฤษฎีนิยมจินตนาการ เป็นการแสดง
แนวคิดในการสรางสรรค์ศิลปะโดยเนนความคิดหรือจินตนาการ งานศิลปะแนวนี้เนนในเรื่องของการ
จินตนาการหรือบางทีก็เป็นลักษณะของโลกของจิตใตส านึก ที่บอยครั้งที่ศิลปินอธิบายผลงานดวย
วัตถุที่มีลักษณะเหมือนจริง แตสรางความไมปกติของความสัมพันธ์กันทางวัตถุ ตัวอยางของงาน
ศิลปะในรูปแบบนี้ไดแกงานประเภทลัทธิเหนือจริง (Surrealism) หรืองานที่เรียกวาแบบอุดมคต ิ
(Idealism)แนวประเพณี เชน ศิลปะไทย หรือศิลปะอินเดีย เป็นตน ซึ่งอาจถูกจัดอยูในประเภทนี้ได
ี
เชนกัน ซึ่งการวิจารณ์ศิลปะตามทฤษฎนี้จะตองมีความรูความเขาใจในวัฒนธรรมทองถิ่นนั้นๆอยาง
ลึกซึ้งดวย
6. ทฤษฏีการวจารณ์ผลงานศิลปะของ ยีน มิทเลอร์
ิ
(Art Criticism Theory by Jean A. Mitler)
มิทเลอร์ใหความส าคัญกับกระบวนการเรียนการสอนวิชาศิลปะดวยเทคนิคปฏิบัติงานดาน
วิจิตรศิลปและดานประยุกต์ศิลป เป็นการสงเสริมใหผูเรียนไดรับความรูใหมๆตามแนวทาง
ประชาธิปไตย การมีแนวคิดที่กวางไกล รักรูจักรับฟังความคิดเห็นของคนอื่น การใหเกียรติคนอื่น
การรูจักปรับปรุงตนเองไปในทางที่เหมาะสมดีงามเพื่อความเจริญรุงเรืองของชีวิต
“กระบวนการรับรู” ในการจัดการเรียนการสอนวิชาศิลปะตามทฤษฏีการเรียนรูของยืน มิท
เลอร์ วาดวยวิธีการสรางประสบการณ์ใน 3 ขั้นตอนคือ
ขั้นที่ 1 บอกวิธีใหผูเรียนไดมีประสบการณ์ หาคุณสมบัตที่ชี้แนะการเห็น จากการไดเห็นหรือ
ิ
รับรูสิ่งหลายๆสิ่ง ภาพหลายๆภาพ วิธีการหลายๆวิธี ฯลฯ ไดตระหนักถงรูปแบบตางๆของศิลปะ
ึ
เสียกอน เชน การดูคุณสมบัติของเสน สี รูปราง รูปทรง พื้นผิว แสง เงา และองค์ประกอบศิลปที่
อยูในผลงานศิลปะนั้นๆในขั้นตอนนี้นักเรียนเริ่มสัมผัสกับแบบอยาง (Style) ของศิลปะวามีอะไร
แตกตางกันบาง
ขั้นที่ 2 ผูสอนควรชวยแนะน าใหนักเรียนเกิดความคิดเห็น สังเกตเกี่ยวกับสิ่งที่ตนรับรูหลาก
ชนิดขึ้น ใหเห็นถึงความแตกตางและเหมือนกันในดานรูปลักษณ์ เชน ผลงานศิลปะหลายๆแบบอยาง
อาจมีคุณสมบัติรวมกันได เชน งานศิลปะในลัทธิกาศกนิยม (Cubism) มีรูปเรขาคณิต เชนเดียวกับ
อนุตรนิยม (Supremacist) และลัทธิรูปทรงแนวใหม (Neo - Plasticism) มีแนวทางและแนวคิดที่
แตกตางกัน ท าใหสามารถแยกแยะออกเป็นแบบอยางเฉพาะตัว
ขั้นที่ 3 เป็นการศึกษาส ารวจอยู อาจพยายามหาหลักฐานมาอางอิงสนับสนุนความคิดของ
ตนจากประวัติศาสตร์ศิลปะดวยความยินยอมและสมัครใจใครรู ผูเรียนสามารถรวบรวมหรือสราง
สูตรในการตัดสินผลงานชิ้นนั้นๆและจะสามารถสาธิตความสามารถที่จะโตแยงหรือสนับสนุน
ความคิดของตน โดยอางอิงดวยความรูและความเขาใจที่ไดรับจากการที่ไดผานประสบการณ์ในการ
~ 53 ~