Page 59 - 003
P. 59
2.ทฤษฏีสุขารมย์ (Pleasure Theory)
ตายานาสนับสนุนทฤษฏีสุขารมณ์หลายประการ เชน “ความเพลิดเพลินบริสุทธิ์มี
ความส าคัญดานสุนทรียภาพ” ความรูสึกทางความงาม เกิดจาก 3 สวนมาประกอบกันคือ
1. ความงามของวัตถุ (Materials of Beauty)
2. รูปแบบ (Form)
3. อารมณ์ (Expression)
ซิกมัน ฟรอยด์ (Sigmund Freud, 1856-1939) นักจิตวิทยาแบบจิตวิเคราะห์ชาว
์
์
ออสเตรีย มีแนวความคิดสัมพันธ์กับทฤษฏีสุขารมยในทัศนะที่วา มนุษยมีความพยายามในการอย ู
รอดดวยการสรางความสุขใหกับตนเอง เมื่อมีความรูสึกอึดอัดจะพยายามในการระบายความอึดอัด
หรือความทุกข์ของตนเองดวยวิธีการพยายามสรางความสุขตางๆ ในขณะที่มีความรูสึกปวดราว จะ
ไมกระท าการที่รุนแรงแตพยายามปลดปลอยความปวดราวนั้น โดยการกดสภาวะนั้นไว แลวคอยๆ
ผอนคลายผานทางงานศิลปะ
การปลดปลอยอารมณ์ของมนษย์ผานงานศิลปะ จะท าใหเกิดความโลงใจคลายกับเป็นการช า
ุ
ละลางอารมณ์ที่มัวหมองใหผองแผว การระบายออกดวยการสรางงานศิลปะจะท าใหเกิดความพอใจ
3. ทฤษฏีรูปทรงนิยม (Form Theory)
นักทฤษฏีรูปทรงนิยม Clive Bell เชื่อวา รูปทรงคือสารัตถะหรือหัวใจส าคัญของศลปะและ
ิ
ู
รูปทรงมีอยในงานศิลปะทุกชิ้น รูปทรงท าใหเกิดอารมณ์สุนทรียะไมใชมาจากเนื้อหาของศิลปะ ศิลปะ
บางอยางอาจไมไดเลียนแบบมาจากสิ่งหนึ่งสิ่งใดแตอาจไปคลายกันโดยบังเอิญ
ทฤษฎีนิยมรูปทรง เป็นการแสดงความคิดในการ สรางสรรค์งานศิลปะ โดยเนนการน ามูล
ฐานของศิลปะ (Element of Visual Art) เชน จุด เสน รูปราง รูปทรง สี พื้นผิว น้ าหนัก แสง
เงา มาใชโดยตรง ผลงานที่ปรากฏอาจมีลักษณะลดทอน เป็นเหลี่ยมเป็นมุม อยาง รูปราง
เรขาคณิต และถายทอดออกมา ในลักษณะ กึ่งนามธรรม (Semi-Abstract) การถายทอด ใน
ลักษณะนี้อาจกลาวไดวา ถายทอดโดยใหความส าคัญ แกธรรมชาตินอยลงและ เพิ่มความส าคัญ ที่
ตัวบุคคลผูสรางศิลปกรรมมากขึ้น เชน
1) เป็นการผสมผสานระหวางรูปแบบ ธรรมชาติกับความรูสึกนึกคิดและจินตนาการ
สรางสรรค์ของศิลปิน
2) เป็นการแสดงสภาวะสัมพันธ์ระหวางวัตถุกับจิต ใหปรากฏในรูปกึ่งนามธรรมนี้จะสังเกต
จากผลงานศิลปะประเภทนี้ไดวา รูปแบบของธรรมชาติ ที่น ามาเป็นสื่อนั้น ถูกลด สกัด ตัดทอนลง
3) การจัดวางก็มิไดค านึงถึงกฎเกณฑ์ของความเป็นจริงตามธรรมชาติ ศิลปินจะตัดทอนเอา
รูปแบบ บางสวน จากธรรมชาติมาเป็นสื่อความรูสึกนึกคิดของตน ใหผูดูไดรับรู เชนใชรูปแบบของ
~ 51 ~