Page 35 - 003
P. 35

อวัยวะสัมผัส (Sensory organs) ได฾แก฽ หู ตา จมูก ปาก ตา ลิ้น ผิวหนัง

                                             ั
                                 ประสาทสัมผส (Receptors)
                                 ประสบการณ์ (Previous experience)

                                 ความตั้งใจ (Attention)

                                 ทัศนคติและค฽านิยม (Attitude and Value)

                                 อารมณ์ (Emotion)

                                 สติปัญญา (Mental abilities)


                          การรับรู฾แบ฽งออกเป็นกฎย฽อย 6 ประการ คือ

                                 1.1 กฎแห฽งความชัดเจน (Clearness) การเรียนรู฾ที่ดีต฾องมีความชัดเจนและแน฽นอน

                          เพราะผู฾เรียนมีประสบการณ์เดิมแตกต฽างกัน ฉะนั้นการมองเห็นหรือการเข฾าใจจะมีความ
                          แตกต฽างกันขึ้นอยู฽กับประสบการณ์ของแต฽ละคนคล฾ายกับการมองภาพเดี่ยวกันแต฽เข฾าใจไม฽

                          เหมือนกัน

                                 1.2 กฎแห฽งความคล฾ายคลึง (Law of Similarity) เป็นการวางหลักการรับรู฾ในสิ่งที่

                          คล฾ายคลึงกันเพื่อจะได฾รู฾ว฽าสามารถจัดเข฾ากลุ฽มเดียวกัน
                                 1.3 กฎแห฽งความใกล฾ชิด (Law of Proximity) เป็นการกล฽างถึงว฽าถ฾าสิ่งใดหรือ

                          สถานการณ์ใดที่มีความใกล฾ชิดกัน ผู฾เรียนมีแนวโน฾มที่จะรับรู฾สิ่งนั้นไว฾แบบเดียวกัน

                                 1.4 กฎแห฽งความต฽อเนื่อง (Law of Continuity) สิ่งเร฾าที่มีทิศทางในแนวเดียวกัน

                          ซึ่งผู฾เรียนจะรับรู฾ว฽าเป็นพวกเดียวกัน
                                 1.5 กฎแห฽งความสมบูรณ์ (Law of Closer) สิ่งเร฾าที่ขาดหายไปผู฾เรียนสามารถ

                          รับรู฾ให฾เป็นภาพสมบูรณ์ได฾โดยอาศัยประสบการณ์เดิม

                                 1.6 กฎแห฽งการสิ้นสุด (Law of Closure) แม฾เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจะยังไม฽เสร็จ

                          สมบูรณ์ คนที่มีประสบการณ์แล฾วพอจะรับรู฾ได฾ว฽าผลที่จะเกิดขึ้นตอนจบจะเป็นอย฽างไร


                          2. การหยั่งรู฾ (Insight) การเรียนรู฾ด฾วยตนเอง การแก฾ปัญหาอย฽างทันทีทันใดที่เกิดขึ้น ณ

                                                                                               ฾
                   เวลานั้น เป็นการมองเห็นแนวทางตั้งแต฽จุดเริ่มต฾นเป็นขั้นเป็นตอนจนสามารถแก฾ปัญหาได การหยั่งรู฾
                   เป็นความเข฾าใจในเหตุการณ์ บางครั้งอาจเคยมีประสบการณ์มาก฽อน ท าให฾สามารถแก฾ปัญหากับ

                                                                   ์
                   เหตุการณ์ใหม฽ที่เกิดมากะทันหันได (มัณฑรา ธรรมบุศย สืบค฾นจาก http://www.bannjomyut.com
                                                 ฾
                   ./library/intellectual สืบค฾น 22/10/2020)
                          ตัวอย฽าง ความน฽าสนใจของกฎแห฽งการเรียนรู฾ของกลุ฽มเกสตัลท์ คือมีนักวิจัยอย฽าง ลีเปอร์

                   (Leeper, 1935) ได฾น ากฎของกลุ฽มเกสตัลท์มาเป็นเครื่องมือในการเรียนรู฾ เช฽น การน ากฎแห฽งความ


                                                           ~ 27 ~
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40