Page 30 - 003
P. 30

5. การเรียนรู้ตามทฤษฏีของ ราล์ฟ ไทเลอร์

               (Learning Theory of Ralph Tyler’s)

                      ทฤษฏีการเรียนการสอนของไทเลอร์เน฾นไปที่การพัฒนารูปแบบของหลักสูตร โดยมีหลักการ

               และเหตุผลที่ส าคัญคือ การพัฒนาจุดมุ฽งหมายทางการศึกษา ประสบการณ์ทางการศึกษา
               ประสิทธิภาพทางการศึกษา และการตรวจสอบสิ่งที่บรรจุผลตามจุดมุ฽งหมายของการศึกษา

                       ด฾านหลักสูตร ไทเลอร์แนะน ากระบวนการตามล าดับคือ

                       1.  การก าหนดจุดมุ฽งหมาย (Objective)  การจัดท าต฾องอาศัยข฾อมูลต฽างๆทางสังคมของ

               ผู฾เรียน ความสามารถของผู฾เรียน คุณลักษณะที่ประเทศชาติต฾องการ และผู฾เชี่ยวชาญด฾านการสอน
                       2.  ประสบการณ์ทางการศึกษา (Learning experience) คัดเลือกประสบการณ์ที่ต฾องการ

                                                                                    ฾
               ให฾ผู฾เรียนได฾เรียนที่ตอบสนองความต฾องการของผู฾เรียนตามวัตถุประสงค์ที่ระบุไว โดยประสบการณ์
                                ิ
               นั้นต฾องมีคุณสมบัต
                              2.1 ความต฽อเนื่อง (continuity) การท ากิจกรรมและประสบการณ์มีบ฽อยๆและ
                       ต฽อเนื่องกันจากระดับหนึ่งไปยังอกระดับหนึ่งสูงขึ้นไปเรื่อยๆ
                                                  ี
                              2.2 การจัดช฽วงล าดับ (sequence) จัดล าดับความง฽ายไปสู฽ความยากเพื่อให฾ผู฾เรียน

                       ได฾เข฾าใจลึกซึ้ง หรือการจัดประสบการณ์ตามล าดับก฽อนหลัง

                              2.3 การบูรณาการ (integration) เป็นการจัดประสบการณ์ให฾ผู฾เรียนได฾เพิ่มพูนความ

                       คิดเห็นและได฾แสดงพฤติกรรมที่สอดคล฾องกัน เป็นการเพิ่มความสามารถด฾วยประสบการณ์
                       ต฽างลักษณะการมีปฏิสัมพันธ์ (interaction) ระหว฽างผู฾เรียนกับสถานการณ์แวดล฾อม



                       3. การประเมินประสิทธิภาพการเรียน (Evaluation) เพื่อให฾บรรลุเปูาหมายตาม
               วัตถุประสงค์ การประเมินจึงเป็นการตรวจสอบว฽าการเรียนการสอนได฾เป็นไปตามที่มีการวางแผนไว ฾

               ตามวัตถุประสงค์มากน฾อยเพียงใดเพื่อให฾มีความสอดคล฾องกันระหว฽างวัตถุประสงค์และวิธีการ

               ประเมิน ดังนี้

                              3.1 ก าหนดวัตถุประสงค์ที่จะวัดและพฤติกรรมที่คาดหวัง

                              3.2 วัดและวิเคราะห์สถานการณ์ที่ท าให฾เกิดพฤติกรรม
                              3.3 ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือโดยใช฾เกณฑ์การวัด 4 แบบคือ

                                     1) ความเป็นปรนัย  (Objectivity)

                                     2) ความเชื่อมั่นได฾  (Reliability)

                                     3) ความเที่ยงตรง  (Validity)
                                     4) ความถูกต฾อง  (Accuracy)




                                                       ~ 22 ~
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35