Page 26 - 003
P. 26

ที่มา: http://lifestyemyself.blogspot.com/p/gagnes-eclecticism.html

                            สืบค฾น 22/10/2020



               4. ทฤษฏีการเรียนรู้แบบอนุกรมวิธานของบลูม

               (Bloom’s Taxonomy Theory)
                       บลูม (Bloom, 1976) นักวิชาการศึกษาชั้นน าของโลกเชื่อว฽าการเรียนการสอนจะประสบ

               ความส าเร็จได฾เมื่อมีการก าหนดเปูาหมายที่ชัดแจนและมีกิจกรรมการเรียนการสอนที่สามารถ

               ประเมินผลได฾ถูกต฾อง การเรียนรู฾ของมนุษยมีใน 3 ด฾านคอ 1. ด฾านสติปัญญา (Cognitive Domain)
                                                                ื
                                                    ์
               2.ด฾านร฽างกาย (Psychomotor Domain) และ 3. ด฾านจิตใจ (Affective Domain)
                       รายละเอียด ดังนี้

                       1. ด฾านสติปัญญา (Cognitive Domain) หรือพุทธิพิสัย มีความเกี่ยวข฾องกับความสามารถ

               ของสมอง หมายถึงสติปัญญา ความรู฾ ความคิด และความเฉลียวฉลาด แบ฽งออกเป็น  6 ระดับ

                              1.1  จดจ า (Knowledge)  ความสามารถในการจดจ าแนกประสบการณ์ต฽างๆ

                       และระลึกเรื่องราวนั้นๆ ออกมาได฾ถูกต฾องแม฽นย า
                              1.2  เข฾าใจ (Comprehension) ความสามารถบ฽งบอกใจความส าคัญของเรื่องราว

                       โดยการแปลความหลัก ตีความได฾ สรุปใจความส าคัญได
                                                                       ฾
                              1.3 ประยุกต์ (Application) ความสามารถในการน าหลักการ กฎเกณฑ์และ

                                                                                        ฾
                       วิธีด าเนินการต฽างๆของเรื่องที่ได฾รู฾มา น าไปใช฾แก฾ปัญหาในสถานการณ์ใหม฽ได
                              1.4 วิเคราะห์ (Analysis) ความสามารถในการแยกแยะเรื่องราวที่สมบูรณ์ให฾

                       กระจายออกเป็นส฽วนย฽อยๆ ได฾อย฽างชัดเจน


                                                       ~ 18 ~
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31