Page 24 - 003
P. 24

ประเภทที่ 2 พฤติกรรมการเรียนรู฾แบบ R เป็นพฤติกรรมตอบสนองที่เกิดขึ้นจากการ

               เสริมแรง (reinforcement) ตัวเสริมแรงมี 2 ลักษณะคือ ตัวเสริมแรงบวก (positive
               reinforcement) เมื่อน ามาใช฾แล฾วจะมีอัตราการตอบสนองมากขึ้น เช฽น อาหาร รางวัลและค าชมเชย

               ตัวเสริมแรงลบ (negative reinforcement) เมื่อน ามาใช฾จะท าให฾การตอบสนองในทางลบมากขึ้น

               เช฽น เสียดัง อากาศร฾อน ค าต าหนิ และการท าโทษ

                       ในการเรียนรู฾ของผู฾เรียนสามารถน าทฤษฏีของสกินเนอร์ไปใช฾ได฾ทั้งสองประเภท พฤติกรรม

               ของนักเรียนจะดีขึ้นเมื่อได฾เสริมแรงบวกด฾วยการให฾รางวัลและค าชมเชย และจะหยุดพฤติกรรมที่ไม฽ด ี
               ได฾ด฾วยการตอบสนองด฾านลบด฾วยการลงโทษ แต฽วิธีการนี้ต฾องระมัดระวังเพื่อให฾เกิดความเหมาะสม

               (ที่มา: http://sampao07.blogspot.com/2014)

                       ดังนั้นการน าทฤษฏีการเรียนรู฾แบบวางเงื่อนไขของสกินเนอร์ ไปใช฾มีแนวทางดังนี้

                       1.  ควรมีการชื่นชมพฤติกรรมของเด็กที่สมควรได฾รับการยกย฽อย
                       2.  ควรระบุพฤติกรรมที่สมควรได฾รับการยกย฽อง ด฾วยความจริงใจ



               3. ทฤษฏีการเรียนรู้แบบมีเงื่อนไขของ โรเบิร์ต กาเย่

               (Conditional Learning Theory by Robert Gange)

                       กาเย (Gange, 1916-2002) ได฾น าเสนอทฤษฏีการเรียนรู฾แบบมีเงื่อนไข โดยเชื่อว฽า มีความรู฾
                           ฽
               อยู฽หลายประเภท มีทั้งประเภทที่สามารถเข฾าใจได฾รวดเร็วและประเภทที่ซับซ฾อนยากและต฾องใช฾เวลา
                                       ฽
               และความสามารถสูง กาเยได฾แบ฽งองค์ความรู฾ออกเป็น 3 ส฽วนคือ 1.ส฽วนที่เป็นหลักการหรือแนวคิด
               2. ส฽วนที่เป็นวัตถุประสงค์ และ 3. ส฽วนที่เป็นกระบวนการเรียนการสอน

                       รายละเอียดขององค์ความรู฾ในแต฽ละส฽วน ดังนี้
                       1.  หลักการหรือแนวคิด กาเย฽เชื่อวามนุษย์มีความสามารถทางทักษะ 5 ประเภทคือ
                                                     ฽
                              1.1 ทักษะทางปัญญา (Intellectual Skill)

                              1.2 กลวิธีในการเรียนรู฾ (Cognitive Strategy)

                              1.3 ภาษาหรือค าพูด (Verbal Information)

                              1.4 ทักษะการเคลื่อนไหว (Motor Skills)
                              1.5 เจตคติ (Attitude)

                       2. วัตถุประสงค์ เป็นการบอกผู฾เรียนเพอที่จะได฾เข฾าใจรวดเร็วและจดจ าสิ่งที่เรียนได฾นาน
                                                        ื่
                                                        ฾
                       3. กระบวนการเรียนการสอน กาเย฽ไดน าแนวคิดเกี่ยวกบกิจกรรมการสอนมาใช฾ประกอบการ
                                                                      ั
                                 ึ
               เรียนการสอน โดยยดหลักการน าเสนอเนื้อหาและการจัดกิจกรรมการเรียนรู฾จากการมีปฏิสัมพันธ์
               แบ฽งออกเป็น 9 ระดับคือ





                                                       ~ 16 ~
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29