Page 22 - 003
P. 22

เนื้อหาเรื่องที่ 2

               ทฤษฏีการศึกษาส าหรับครูสอนศิลปะ


                                                                                ี
                       สาระส าคัญในบทเรียนนี้เป็นการน าเสนอข฾อมูลที่เกี่ยวข฾องกับทฤษฏด฾านการศึกษาหลาย
               ทฤษฏีที่ควรทราบและท าความเข฾าใจ เวลาจัดการเรียนการสอนจริงอาจต฾องใช฾องค์ความรู฾จาก
               หลายๆทฤษฏีมาผสมผสานกันให฾เหมาะสมกับผู฾เรียนและสถานการณ์จริงที่เกิดขึ้น เพื่อให฾ผู฾เรียน

                                                                          ี
                  ฾
               ไดรับองค์ความรู฾และประสบการณ์มากที่สุด เนื้อหาของแต฽ละทฤษฏจะมีทิศทางของการน าไปปฏิบัต ิ
               ที่แตกต฽างกันและจะก าหนดคุณลักษณะของผู฾เรียนว฽าควรจะเป็นอย฽างไร


                                                                       ์
               1. ทฤษฏีพัฒนาการทางสติปัญญาของ จอง เพียเจต

               (Cognitive Development Theory by Jean William Piaget)
                             ์
                       เพียเจต (Piaget,1896-1980) เชื่อว฽ามนุษย์มีพื้นฐานการเรียนรู฾ 2 ชนิดคือ การจัดและการ
               รวบรวม (Organization) และการปรับตัว (Adaptation Developmental Psychology) ดังนั้นการ

               เรียนรู฾ของมนุษย์เกิดจากการรวบรวมประสบการณ์เดิมหรือความรู฾เดิมมาผสมผสานกับความรู฾ใหม฽
               ผู฾สอนควรจะน าความรู฾เดิมที่มีอยู฽แล฾วมาเชื่อมโยงกับความรู฾ใหม฽จึงจะท าให฾ผู฾เรียนเข฾าใจหัวข฾อใหม฽ได ฾

               อย฽างลึกซึ้งยิ่งขึ้น  ลักษณะการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้จึงเน฾นการลงมือปฏิบัติจริง “learning by

               doing” เพื่อสร฾างประสบการณ์ตรงให฾กับผู฾เรียน หรือเรียกว฽า การเรียนแบบมีส฽วนร฽วม (Active

               Learning)

                       เพียเจต์ไดจัดล าดับความเจริญด฾านสตปัญญาของมนุษย์ไว฾ 4 ขั้นตอนคือ
                                                        ิ
                                ฾
                       1. ช฽วงอายุ 0-2 ปี เรียกว฽า ขั้นการใช฾ประสาทสัมผัสและกล฾ามเนื้อ (Sensori motor
               Period) เป็นพฤติกรรมที่ขึ้นอยู฽กับการเคลื่อนไหวของร฽างกายเป็นส฽วนใหญ฽ เป็นการกระท าสิ่งเดิม

               ซ้ าๆเพื่อให฾เกิดการเรียนรู฾ในลักษณะการลองผิดลองถูก เด็กยังไม฽สามารถแยกแยะตัวเองออกจาก

               สิ่งแวดล฾อมไดชัดเจน
                            ฾
                       2. ช฽วงอายุ 2-7 ปี เป็นขั้นเริ่มมีความคิดความเข฾าใจ (Pre-operational Period) เป็นวัยที่

               ยังไม฽สามารถใช฾สติปัญญาได฾มาก ส฽วนใหญ฽จะเป็นการรับรู฾มากกว฽าความเข฾าใจ เด็กมีการพัฒนาการ

                                                              ั้
                                                                                             ิ
               ด฾านภาษาดีขึ้น เข฾าใจอะไรในมิติเดียวและความเข฾าใจนนมีขีดจ ากัด ชอบเล฽นบทบาทสมมุต
                       3. ช฽วงอายุ 7-11 ปี เป็นขั้นการใช฾ความคิดอย฽างมีเหตุผลเชิงรูปธรรม (Concrete
               Operational Period) เป็นระยะที่เด็กสามารถพัฒนาความคิดและสติปัญญาได฾อย฽างรวดเร็ว

               สามารถน าประสบการณ์ในอดีตมาแก฾ปัญหากับเหตุการณ์ใหม฽ได฾

                       4. ช฽วงอายุ 11-15 ปี เป็นช฽วงการใช฾ความคิดอย฽างมีเหตุผลเชิงนามธรรม (Formal

               Operational Period) เป็นขั้นสูงสุดของการพัฒนาทางสติปัญญาแบบเด็กๆและจะเริ่มคิดแบบผู฾ใหญ ฽

               ที่มีการแก฾ปัญหาเป็นนามธรรมที่มีรูปแบบที่หลากหลาย คิดอย฽างเป็นวิทยาศาสตร์มากขึ้น
                                                       ~ 14 ~
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27