Page 18 - 003
P. 18
สรุป กิจกรรมศลปะสามารถสงเสริมพัฒนาการดานความคิดสรางสรรค์ใหเด็กไดทุกเพศทุก
ิ
็
วัย เนื่องจากเดกเป็นวัยที่มีการจินตนาการสูง มีความอยากรูอยากเห็น มีการคิดค านึงถึงการกระท า
ู
ของตน ความคิดสรางสรรค์มีอยในแตละคนเพียงแตตองกระตุนใหพัฒนาหรือกระตุนใหแสดง
ออกมา ใหเป็นที่ปรากฏ ศิลปะเป็นกิจกรรมที่ตองอาศัยทักษะในการคิดเรื่องราวตางๆ ทักษะการใช
วัสดุอปกรณ์ ทักษะการน าเสนอดวยวิธีการตางๆ สรางประสบการณ์ในคนแสวงหา การแกปัญหา
ุ
หาเด็กไดรับโอกาสจะเป็นการสรางประสบการณ์ตรงดานการเรียนรู จะชวยใหเด็กไดรับฝึกการ
จินตนาการ ตามเพศตามวัยและตามธรรมชาติของเด็กอยางที่ควรจะเป็น
2.5 ศิลปะส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสุนทรียะ (Aesthetic Growth)
สุนทรียะหรือความงาม เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับความซาบซึ้งในคุณคาของสิ่งที่งดงาม อยูใน
ธรรมชาติและงานศิลปะ เป็นความรูสึกที่เจริญไดดวยประสบการณ์ การศึกษาอบรม การฝึกฝน จน
กลายเป็นอุปนิสัย เกิดเป็นรสนิยม แตมีความแตกตางกันไปในแตละบุคคล (ราชบัณฑิตยสถาน,
2541)
ความงามในงานศิลปะ เป็นสิ่งที่มนุษยสรางขึ้นจากแรงบันดาลใจจากธรรมชาติและ
์
สิ่งแวดลอม ความงามทางดานศิลปกรรมเป็นความส านึกในคุณคาทางความงามที่ศิลปินน ามา
แสดงออกและสรางสมสืบทอดตอๆกันมา เป็นประสบการณ์ที่ไดจากประสาทสัมผัสถายทอดโดย
สัมพันธ์กับรสนิยมของผูรับเป็นส าคัญ (ดวงรัตน์ ดานไทยน า, 2560)
ผลการวิจัยเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมศิลปะเพื่อสงเสริมสุนทรียภาพส าหรับเด็ก พบวาการท า
กิจกรรมทางศิลปะสามารถท าไดหลายรูปแบบ กิจกรรมศิลปะชวยพัฒนาการดานสุนทรียภาพและ
ความคิดสรางสรรค์ การจัดกิจกรรมศิลปะเสมือนเครื่องมือส าคัญที่สามารถน ามาพัฒนาเด็กไดทุก
ดาน การคิดคนรูปแบบ นวัตกรรม และการจัดกิจกรรม มีประโยชน์กับเด็กในแตละวัย (วรอัญญู
ณรงค์เดชา, 2562)
สุนทรียภาพพัฒนาไดทุกเพศทุกวัยและทุกชวงเวลา การไดเขาใจงานศิลปะอยางลึกซึ้งจะท า
ใหเกิดความซาบซึ้งในศิลปะเฉพาะดานไดเชนกัน โดยเฉพาะงานศิลปะที่เป็นนามธรรม จะท าใหเกิด
ทักษะการสรางอารมณ์และความรูสึก การเขาใจงานศิลปะแขนงใดแขนงหนึ่งหรือความงามในเรื่อย
ใดเรื่องหนึ่งแลว ก็จะสามารถท าใหเขาถึงศิลปะแขนงอื่นหรือความงามอื่นๆไดงายขึ้น และจะเป็น
สุนทรียภาพแหงตน ในสถานศึกษาสามารถจัดไดในลักษณะกิจกรรมและสิ่งแวดลอมใหสวยงาม มี
ความเป็นระเบียบเรียบรอย การแตงกายของผูเรียน ผูสอน กิจกรรมจะสรางความสุข ความเจริญ
ใจใหกับผูเรียน สุนทรียภาพจะเสริมสรางในตัวบุคคลมีผลตอพฤติกรรม รสนิยม ความรูสึกนึกคิด
และการแสดงออกเมื่อจบการศึกษาออกไปสูสังคม ทั้งในระดับปัจเจกบุคคลและระดับกลุมคน
์
(กฤษมันต์ วัฒนาณรงค, 2563)
~ 10 ~