Page 15 - 003
P. 15

สามารถหาวิธีการแก฾ปัญหาเฉพาะหน฾าได฾ และเมื่อได฾ฝึกการแก฾ปัญหาบ฽อยๆจะเกิดความเข฾าใจและ

                   ช านาญในการหาวิธีแก฾ปัญหาก฽อนที่จะมีการลงมือท ากิจกรรมครั้งต฽อไป เด็กที่ผ฽านการฝึกท ากิจกรรม
                                                                                                   ฾
                                                                ิ
                   ศิลปะบ฽อยๆและท าหลายๆกิจกรรม มักจะควบคุมสตได฾ดีและมีสมาธิในการท ากิจกรรมอื่นๆไดด฾วย
                   เช฽นกัน

                          2.2 ศิลปะส่งเสริมพัฒนาการทางด้านการรับรู้ (Perception Growth)

                          การรับรู฾คือ การสัมผัสอย฽างมีความหมายและการตีความหมายแห฽งการสัมผัสที่ได฾รับมา

                   จากสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่มีความหมายที่เป็นที่รู฾จักและเข฾าใจกัน การในการแปลความหมายจะต฾องใช฾
                   ความรู฾เดิมหรือประสบการณ์เดิม (ลักขณา สิริวัฒน, 2549) ขั้นตอนของการรับรู฾ประกอบด฾วย
                                                                ์
                   ความเข฾าใจ การคิด การรู฾สึก ความจ า การเรียนรู฾ การตัดสินใจ การแสดงพฤติกรรม (กันยา

                   สุวรรณแสง, 2544)

                          การรับรู฾ตามทัศนะของกลุ฽มเกสตอลท์ (Gestalt Psychology) เชื่อวาการรับรู฾ของเด็กมี
                                                                                     ฽
                                                                    ็
                   ความแตกต฽างจากของผู฾ใหญ฽ และแม฾แต฽เด็กวัยเดียวกันกจะรับรู฾ต฽างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู฽กัลป฼สมรรถภาพ
                   ในการรับรู฾ของแต฽ละคนคือ สติปัญญา ประสบการณ์ ความตั้งใจ และประเพณีวัฒนธรรมที่แตกต฽าง

                   กันไป

                          เพียเจต์ (Piaget) นักวิชาการศึกษา อธิบายไว฾ว฽า เดกแต฽ละคนมีความพยายามในการศึกษา
                                                                       ็
                   และส ารวจสิ่งต฽างๆรอบตัวที่เป็นวัตถุ สิ่งของ เหตุการณ์และตัวบุคคล ท าให฾เกิดการเรียนรู฾สิ่งต฽างๆ

                                                                                            ฾
                   อย฽างเป็นรูปธรรมและจะพัฒนาไปเรื่อยๆจนสามารถเรียนรู฾สิ่งต฽างๆที่เป็นนามธรรมได
                          การรับรู฾จึงหมายถึงความสามารถในการปฏิบัติงานที่ได฾รับมอบหมายให฾ได฾ส าเร็จ การรับรู฾

                   จะท าให฾เกิดการเรียนรู฾ การสังเกตและการจดจ า การรับรู฾ในงานศิลปะได฾แก฽ การรับรู฾ด฾านเนื้อหา
                   เรื่องราว การรับรู฾ด฾านรูปร฽าง รูปทรง สี ขนาดและสัดส฽วน เด็กจะรับรู฾ได฾เร็วเมื่อได฾ปฏิบัติงานจริง

                   การรับรู฾ที่มีสมรรถภาพย฽อมเกี่ยวข฾องกับประสาทสัมผัสโดยตรง การที่เด็กได฾ฝึกปฏิบัติงานศิลปะ

                   เกี่ยวข฾องกับสี รูปร฽าง ปริมาตร พื้นผิว บริเวณว฽าง ฯลฯ เป็นการฝึกฝนที่สะสมการรับรู฾ต฽อวัตถุอีก

                   ทางหนึ่ง คุณภาพของประสาทสัมผัสที่เกิดจาการเรียนรู฾ทางศิลปะจึงเป็นคุณภาพที่มีความฉับไวใน
                   การรับรู฾ (วรุณ ตั้งเจริญ, 2535)

                                        ิ
                                                                                               ฾
                          สรุป กิจกรรมศลปะส฽งเสริมพัฒนาการด฾านการรับรู฾ของเด็ก ในลักษณะที่เด็กไดเข฾าใจ
                   ความหมายของสิ่งต฽างๆที่เป็นวัตถุสิ่งของ เหตุการณ์ และปรากฏการณ์ต฽างๆรอบๆตัว  ศิลปะท าให฾

                   เด็กเกิดการเรียนรู฾  ไดสังเกตและได฾จดจ า ถึงแม฾ว฽าเด็กแต฽ละคนจะมีการรับรู฾ได฾ต฽างกันการจัด
                                       ฾
                                                                                  ็
                   กิจกรรมศิลปะในห฾องเรียนจะสร฾างโอกาสให฾เด็กได฾เรียนรู฾เท฽าเทียมกัน เดกที่ไม฽มีโอกาสก็จะได฾มี
                   โอกาสเหมือนเพื่อน สร฾างความเสมอภาคในการรับรู฾ ถึงแม฾ว฽าเขาอาจจะไม฽สามารถรับรู฾ได฾ในระดับ

                   เท฽ากัน ดังนั้นการเรียนการสอนกิจกรรมศิลปะส าหรับเด็ก ครูจึงมีบทบาทส าคัญในการที่จะชี้แนะ

                   ผู฾เรียนให฾ได฾มองเห็นวัตถุและสิ่งแวดล฾อมรอบๆได฾มากขึ้น การได฾ใช฾ประสาทสัมผัสในการฝึกสร฾าง


                                                            ~ 7 ~
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20