Page 12 - 003
P. 12

เนื้อหาเรื่องที่ 1

                                    ิ
               ความส าคัญของวชาศิลปะกับเด็ก

                       ศิลปะมีความส าคัญส าหรับเด็กในชั้นเรียนอย฽างไรและเหตุใดนักวิชาการจึงให฾ความสนใจต฽อ

               การสร฾างสรรค์งานศิลปะของเด็ก เนื้อหาในเรื่องนี้จึงเป็นการน าหลักการและเหตุผล ตลอดจน
               ทัศนคติของนักวิชาการมาน าเสนอเพื่อสร฾างความเข฾าใจเบื้องต฾น





               1. ความสาคัญของการสอนวิชาศิลปะสาหรับเด็ก
                                                                                    ิ
                       ธรรมชาติของวิชาศิลปะประกอบไปด฾วยเรื่องราว ประสบการณ์ ความคดสร฾างสรรค์
               จินตนาการ อารมณ์ และความรู฾สึกละเอียดอ฽อนประณีต ถ฾าสามารถพัฒนาผู฾เรียนได฾ตามเปูาหมาย

               ของการสอนศิลปะ ผู฾เรียนเข฾าถึงศิลปะและรับรู฾อะไรได฾ง฽ายเพราะโลกทัศน์ของศิลปะเป็นการ
               แสดงออกอย฽างสร฾างสรรค์และจินตนาการลึกซึ้ง และมีคณค฽าต฽อจิตใจ (วิชัย วงศ์ใหญ, 2530)
                                                                ุ
                                                                                          ฽
                        การเรียนศิลปะเป็นการส฽งเสริมให฾ผู฾เรียนมีความคิดสร฾างสรรค์ มีจินตนาการทางศิลปะ ชื่น

               ชมความงาม สุนทรียภาพ ความมีคุณค฽าซึ่งมีผลต฽อคุณภาพของมนุษย น าไปพัฒนาผู฾เรียนโดยตรง
                                                                            ์
               ทั้งทางด฾านร฽างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์และสังคม ตลอดจนน าไปสู฽การพัฒนาสิ่งแวดล฾อม

               ส฽งเสริมให฾ผู฾เรียนให฾มีความมั่นใจในตนเอง ค฾นหาศักยภาพของตนเอง อันเป็นพื้นฐานในการศึกษาต฽อ

               การประกอบอาชีพ (กรมวิชาการ, 2546)

                       ศิลปศึกษาเป็นการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนโดยครูยึดหลักสูตรเป็นส าคัญ เพื่อให฾การ

               เรียนการสอนเหมาะสมและสอดคล฾องตามวุฒิภาวะและความสามารถของผู฾เรียน มีการวางแผนการ
               สอน ประกอบด฾วย จุดมุ฽งหมาย เนื้อหา กิจกรรม สื่อการสอน และการประเมินผลที่ชัดเจน

               นอกจากนี้ครูจ าเป็นต฾องมีเทคนิคการสอนเฉพาะเพอให฾การเรียนการสอนไม฽น฽าเบื่อ (เกษร ธิตะจารี,
                                                           ื่
               2542)

                       ศิลปศึกษาเป็นการจัดการเรียนการสอนศิลปะส าหรับเด็ก สิ่งที่เด็กได฾แสดงออกเป็นความ
                               ิ
               เจริญเติบโตด฾วยวธีการนึกคด การเข฾าใจและการแปลความหมายของสิ่งแวดล฾อม วิธีการนี้จะ
                                       ิ
               เปลี่ยนแปลงไปเมื่อเขาอายุมากขึ้น วิคเตอร์ โลเวนเฟล (Victor Lowenfeld, 1975)

                       กรมวิชาการก าหนดสาระและมาตรฐานการเรียนรู฾กลุ฽มสาระศิลปะว฽า เป็นกลุ฽มที่มุ฽งเน฾นการ

               ส฽งเสริมความคิดริเริ่มสร฾างสรรค์ จินตนาการทางศิลปะ การชื่นชมความงาม ความมีคุณค฽า
               กิจกรรมศิลปะสามารถน าไปใช฾ในการพัฒนาสังคม สิ่งแวดล฾อม ส฽งเสริมให฾ผู฾เรียนกล฾าคิด กล฾าท า

               กล฾าแสดงออกในเชิงสร฾างสรรค์ สามารถค฾นพบศักยภาพของตนเอง อันเป็นพื้นฐานตอการศึกษาหรือ
                                                                                        ฽
               ประกอบอาชีพได฾ ด฾วยการมีความรับผิดชอบ มีระเบียบวินัยและท างานร฽วมกันได฾อย฽างมีความสุข

               (กรมวิชาการ, 2544)



                                                        ~ 4 ~
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17