Page 13 - 003
P. 13

ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ (2551) ก าหนดเนื้อหา

                   สาระส าคัญของวิชากลุ฽มสาระศิลปะ (ทัศนศิลป฼) เพิ่มจากหลักสูตรปีพุทธศักราช 2544 คือ ผู฾เรียน
                   สามารถสร฾างและน าเสนอผลงานทางทัศนศิลป฼จากจินตนาการ สามารถใช฾อุปกรณ์ได฾อย฽างเหมาะสม

                   สร฾างงานด฾วยเทคนิคและวิธีการได฾อย฽างมีประสิทธิภาพ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค฽าของงาน

                   ทัศนศิลป฼ มีความเข฾าใจในประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค฽างานศิลปที่เป็นมรดกทาง

                   วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท฾องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ชื่นชมและประยุกต์ใช฾ในชีวิตประจ าวัน

                   (ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2551)
                          ศิลปศึกษาในระดับประถมศึกษาเป็นการจัดการเรียนการสอนเพื่อส฽งเสริมให฾ผู฾เรียนได฾มี

                   โอกาสแสดงออกอย฽างเสรีตามความคิดสร฾างสรรค์ เป็นการเปิดโอกาสให฾ได฾ท างานร฽วมกับคนอื่น อัน

                   จะน าไปสู฽การเพิ่มประสบการณ์ ฝึกนิสัยและทักษะทางสังคม จึงเป็นโอกาสที่เด็กจะได฾แสดงออก

                                     ั
                   ตามลักษณะเฉพาะตว การสร฾างเสริมประสบการณ์ที่กวางขวง การกระตุ฾นบุคลิกภาพด฾วยกลวิธ   ี
                                                                   ฾
                   ต฽างๆ การโยงความคิดไปสีประสบการณ์และสิ่งแวดล฾อมและวัฒนธรรมอันดีงามอีกด฾วย (จิรนันท์
                   อิ่มสกุล, 2548)

                                                  ิ
                          กิจกรรมการเรียนรู฾ในกลุ฽มศลปะ (ทัศนศิลป฼) ประกอบด฾วยภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ ช฽วยให฾
                   ผู฾เรียนมีความคิดริเริ่มสร฾างสรรค์ มีจินตนาการทางศิลปะ มีสุนทรียภาพ ชื่นชมความงาม ซึ่งมีผล
                   ต฽อคุณภาพชีวิตมนุษย์ ช฽วยพัฒนาร฽างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสิ่งแวดล฾อม ส฽งเสริมให฾มีความ

                   มั่นใจ อันเป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพ (ธนิต เพียรมณีวงศ์, 2556)

                                             ิ
                          สรุปความส าคัญของวชาศิลปในระดับชั้นประถมศึกษาคือ การน ากิจกรรมศิลปะมาสอนใน
                   โรงเรียนระดับชั้นประถมศึกษา เพื่อเป็นการสร฾างโอกาสให฾ผู฾เรียนได฾มีประสบการณ์ตรงในการท า
                   กิจกรรมด฾วยตนเอง โดยมีครูศิลปะท าหน฾าที่เป็นผู฾สอนและเป็นผู฾คอยอ านวยความสะดวกในการท า

                   กิจกรรมของนักเรียน กิจกรรมที่สอนมีความเหมาะสมและสอดคล฾องกับวุฒิภาวะของผู฾เรียนเพื่อ

                                                     ฾
                   น าไปสู฽การพัฒนาการเจริญเติบโตทางดานร฽างกายและจิตใจ ครูผู฾สอนจะยึดสาระส าคัญที่ระบุไว฾ใน
                   หลักสูตรศิลปะแกนกลางที่จัดท าโดยส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
                   กระทรวงศึกษาธิการ เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรม โดยในหลักสูตรนั้นจะมีหัวข฾อส าคัญ

                   ประกอบด฾วย มาตรฐานการเรียนรู฾ คุณภาพของผู฾เรียน เนื้อหา กิจกรรม สื่อการเรียนการสอน

                   วิธีการวัดประเมินผล และอื่นๆ โดยเปูาหมายสูงสุดของการสอนศิลปะระดับชั้นประถมศึกษาคือ

                   มุ฽งหวังให฾เกิดประโยชน์ต฽อผู฾เรียนมากที่สุด ให฾ผู฾เรียนมีความคิดริเริ่มสร฾างสรรค์ มีจินตนาการทาง

                   ศิลปะ รู฾จักชื่นชมความงาม มีสุนทรียภาพ เห็นคุณค฽าของงานศิลปะที่เป็นกิจกรรมส าคัญอย฽างหนึ่ง
                   ของมนุษย
                            ์





                                                            ~ 5 ~
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18