Page 25 - 003
P. 25

3.1 กระตุ฾นและดึงดูดความสนใจ (Gain Attention) เป็นการช฽วยให฾ผู฾เรียนสามารถ

                          รับสิ่งเร฾าหรือสิ่งที่จะเรียนรู฾ได฾ดี หรือเป็นการสร฾างแรงจูงใจด฾วยวิธีการต฽างๆ เช฽น การใช฾
                          ภาพ การใช฾เสียง การ ใช฾สื่อกราฟิก

                                 3.2 การบอกวัตถุประสงค์ (Specific Objective) เป็นการบอก

                          บทเรียนให฾ผู฾เรียนได฾ทราบเพื่อผู฾เรียนจะได฾รับรู฾ความคาดหวัง ผู฾เรียนได฾เตรียมตัว ได฾รับรู฾สิ่ง

                          ที่สอดคล฾องกับความตั้งใจ

                                 3.3 การทบทวนความรู฾เดิม (Activate Prior Knowledge) เป็นการ
                          ท าให฾ระลึกถึงความรู฾เดิมเพื่อให฾ผู฾เรียนดึงข฾อมูลเดิมที่อยในความจ าระยะยาวมาให฾อยู฽ใน
                                                                          ู฽
                          หน฽วยความจ าเพื่อใช฾งาน (working memory) เพื่อให฾ผู฾เรียนได฾เชื่อมโยงความรู฾เดิมกับ

                          ความรู฾ใหม฽ เช฽น การถามตอบ การอภิปราย และการทบทวน

                                 3.4 การน าเสนอสิ่งเร฾าใหม฽ หรือความรู฾ใหม฽ (Present New Information) เป็น
                          การจัดสิ่งเร฾าที่ชัดเจน ให฾เห็นความส าคัญเพื่อผู฾เรียนได฾รับรู฾

                                 3.5 การชี้แนะแนวทางในการเรียนรู฾ (Guide Learning) เป็นการแนะวิธีการ

                          จัดระบบข฾อมูลให฾มีความหมาย เพื่อท าให฾ผู฾เรียนสามารถเข฾าใจสาระได฾เร็วและง฽าย ขึ้น

                                 3.6 การกระตุ฾นการตอบสนองบทเรียน (Elicit Response) เป็นการกระตุ฾นให฾
                          ผู฾เรียนได฾แสดงความสามารถ ที่จะช฽วยให฾ทราบถึงการเรียนรู฾เกิดในตัวผู฾เรียน

                                 3.7 การให฾ข฾อมูลย฾อนกลับ (Provide Feedback) เป็นการเสริมแรงและให฾ข฾อมูล

                                       ์
                           เป็นประโยชน
                                 3.8 การประเมินผลการแสดงออก (Assess Performance) เป็นการช฽วยให฾ผู฾เรียน
                          ทราบว฽าตนเองสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ได฾มากน฾อยเพียงใด

                                 3.9 การสรุปและน าไปใช฾ (Review and Transfer) เป็นการเสริมความคงทนและ

                          การถ฽ายโอนการเรียนรู฾ ให฾โอกาสในการน าไปฝึกฝนได฾ในสถานการณ์ที่หลากหลาย

                          (ที่มา: bannjomyut.com./library/intellectual development)
                                 ดังนั้นการน าทฤษฏีการเรียนรู฾แบบวางเงื่อนไขของกาเย฽ ไปใช฾มีแนวทางดังนี้

                          1. ส฽งเสริมให฾เด็กได฾มีโอกาสในการตอบสนองต฽อบทเรียนด฾วยวิธีการใดวิธีการหนึ่ง

                          2. สนับสนุนให฾มีการหาค าตอบในหลายๆแนวทางหรือหลายๆรูปแบบ ไม฽จ าเป็นต฾องมี

                   ทางเลือกเพียงทางเดียว

                          3. หลักการสอน 9 ประการตามทฤษฏีการเรียนรู฾ของกายเย฽ ดูในภาพประกอบ







                                                           ~ 17 ~
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30