Page 32 - 003
P. 32

การสอนที่น าประสบการณ์มาเป็นที่มาขององค์ความรู฾การจัดประสบการณ์นิยม (Experimentalism)

               เป็นแนวคิดที่เชื่อว฽าการปรับตัวของสิ่งมีชีวิตรวมทั้งคนจะท าให฾มีชีวิตรอด โดยได฾น าแนวคิดของนัก
               ปรัชญาในอดีตอย฽างชาร์ล ดาวิน (Charles Darwin) เจ฾าของทฤษฏีวิวัฒนาการ มาขยายความต฽อ

               โดยดิวอี้ เห็นว฽ามนุษย์มีปัญหาที่ต฾องพบอยู฽ตลอดจึงต฾องมีการแก฾ปัญหาเพื่อให฾เกิดการอยู฽รอด ค าว฽า

               “ประสบการณ์” มี 2 ประเภทคือ

                                          ู
                       1. ประสบการณ์ปฐมภมิ (Primary Experience) เป็นประสบการณ์ที่ยังไม฽ได฾ไตร฽ตรอง เป็น
               เพียงการกระท า เปลี่ยนแปลงได฾ตามสภาพแวดล฾อม ถือว฽ายังไม฽เป็นความรู฾
                                                                                        ฾
                       2. ประสบการณ์ทุติยภูมิ (Secondary Experience) เป็นประสบการณ์ที่ไดไตร฽ตรองแล฾ว
                                     ฽
               ผ฽านกระบวนการคิด ถือวาเป็นความรู฾ เรียกว฽าการไตร฽ตรอง (Reflective Thought) หรือ
               ประสบการณ์การเรียนรู฾ (Cognitive Experience)ตามแนวทางการเรียนรู฾ของดิวอี้ การศึกษาที่

               ถูกต฾องไม฽ได฾ขึ้นอยู฽กับรูปแบบเก฽า (Tradition) ตามจารีตประเพณีหรืออนุรักษ์นิยม (Conservative)
               หรือรูปแบบใหม฽หรือแบบก฾าวหน฾า (Progressive) แต฽ให฾ความส าคัญกับประสบการณ์ที่เป็นจริงเพื่อ

               ให฾เกิดความเจริญงอกงามของร฽างกาย จิตใจ สติปัญญาและคุณธรรม ดังนั้นการสร฾างประสบการณ์

                                             ฽
               ต฽อเนื่องจึงเป็นสิ่งส าคัญ ดิวอี้เชื่อวาการเผชิญสถานการณ์จริงและการแก฾ปัญหาท าให฾เกิดการเรียนรู฾

               การเรียนแบบประชาธิปไตยเน฾นให฾ผู฾เรียนได฾เรียนรู฾ด฾วยตนเอง ให฾คิดเป็น แก฾ปัญหาเป็น โดยนา
               วิธีการทางวิทยาศาสตร์มาใช฾บ฾าง ผู฾เรียนได฾เรียนรู฾จากการท าจริง (Learning by Doing) ผู฾เรียน

               เป็นผู฾จัดโครงการ (Project Based Learning) ผู฾เรียนได฾ค฾นหาวิธีการ สืบค฾นหาข฾อมูล จัดระเบียบ

               ข฾อมูล และพิจารณาข฾อมูล  ดิวอี้เชื่อว฽า การเรียนการสอนแนวนี้ผู฾เรียนได฾ท ากิจกรรมที่หลากหลาย

               เรียนได฾ตามความถนัดและความสนใจ กิจกรรมศิลปะช฽วยส฽งเสริมกระบวนการท างาน
                       หลักคิดของการเรียนรู฾แบบ “Learning by Doing” มีดังน
                                                                         ี้
                       1.  การเรียนรู฾เกิดจากการปรับตัวให฾มีความเหมาะสมกับสิ่งแวดล฾อม

                       2.  มนุษย์ต฾องรู฾จักการแก฾ปัญหาเพื่อให฾เกิดการเรียนรู฾เพราะการเผชิญปัญหาท าให฾ได฾ฝึกคิด

                          ฝึกปฏิบัตมีความแตกต฽างจากการเรียนรู฾แบบท฽องจ า
                                  ิ
                       3.  ครูเป็นผู฾รอบรู฾และมีประสบการณ์ยอมรับความแตกต฽างของผู฾เรียน

                       4.  ให฾ผู฾เรียนเป็นศูนย์กลางรับประสบการณ์จากการกระท าของตนเอง (Child Centered)

                       5.  ครูเป็นผู฾อ านวยความสะดวก

                       6.  ไม฽เน฾นการท฽องจ าจากต าราอย฽างเดียวมีแหล฽งเรียนรู฾ที่หลากหลาย

                       7.  มีทักษะทางสังคมแบบประชาธิปไตย


                       ดังนั้นการน าทฤษฏเรียนรู฾ของดิวอี้แบบ “Learning by Doing” หรือ การเรียนรู฾ด฾วยการลง
                                       ี
               มือปฏิบัติจริง ไปประยุกต์ใช฾แนะน าวิธีการดังนี้


                                                       ~ 24 ~
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37