Page 37 - 003
P. 37

ดังนั้น ทฤษฏีของกลุ฽มเกสตัลท์สามารถน าไปใช฾ ดังนี้

                          1.  ประสบการณ์เดิมของผู฾เรียนมีความส าคัญต฽อการท าบทเรียน
                          2.  การเรียนการสอนใช฾บทเรียนที่มีความสอดคล฾องกันไป ท าบทเรียนเป็นหมวดหมู฽

                          3.  การจัดประสบการณ์การเรียนรู฾ควรให฾ผู฾เรียนได฾ค฾นพบด฾วยตนเองบ฾าง

                          4.  ผู฾เรียนแต฽ละคนมีสติปัญญาที่แตกต฽างกัน



                   9. ทฤษฎีการเรียนรู้ของ  วอลดอร์ฟ

                   (Theory of Learning of Waldorf Method)

                          ทฤษฏีการเรียนรู฾ของกลุ฽มวอลดอร์ฟ (Waldorf Method, 1919) เกิดจากกลุ฽มการศึกษา
                   เอกชนของประเทศเยอรมัน หลังสงครามโลกครั้งที่ 1โดยมี วอลดอร์ฟ แอสโทเรียที่ สตุทการ์ท

                   เจ฾าของโรงงานยาสูบเป็นผู฾ให฾การสนับสนุนการเปิดโรงเรียนให฾กับคนงานในโรงงาน มีผู฾ออกแบบ

                   รูปแบบการสอนคือ ดร.รูดอร์ฟ สไตเนอร์  (Rudolf Steiner, 1861-1925)

                           ในระยะเริ่มแรกการจัดการสอนจะอยู฽ภายใต฾เงื่อนไข 4 ประการคือ

                          1. โรงเรียนต฾องรับเด็กเข฾าเรียนทุกคน
                          2. มีการเรียนการสอน 12 ปี

                          3. โรงเรียนเป็นอิสระไม฽ขึ้นกับรัฐบาล

                          4. มีครูที่รับผิดชอบเด็กโดยตรง

                          นวัตกรรมการศึกษาแนววอลดอร์ฟมีรากฐานมาจากมนุษยปรัชญา (Anthroposophy)โดย
                   ดร.รูดอร์ฟ สไตเนอร์ (Rudolf Steiner 1861-1925) ได฾น ามาจัดการศึกษาในโรงเรียนที่มีเปูาหมาย

                   เพื่อพัฒนามนุษย์ไปสู฽ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ด฾วยการพัฒนากาย (Body) จิต (Soul) และจิต

                   วิญญาณ (Spirit) ให฾บรรลุถึง ความดี (Good) ความงาม (Beauty) ความจริง (Truth) แนวคิดของ

                   มนุษยปรัชญาที่เป็นรากฐานส าคัญในการจัดการศึกษาวอลดอร์ฟ เชื่อว฽า เมื่อมองดูการเกิดและ
                   เติบโตของเดกคนหนึ่ง เราจะเห็นได฾ว฽า กาย (Body) เป็นส฽วนที่พ฽อแม฽เตรียมไว฾ให฾ในโลก ส฽วนจิต
                              ็
                   วิญญาณ (spirit) เป็นจิตเดิมแท฾ของเด็กเองที่ มาจากโลกเบื้องบน และเชื่อมโยงกันด฾วยวิญญาณ

                   (Soul) พ฽อแม฽และครูมีส฽วนช฽วยให฾การเชื่อมโยงนี้เป็นไปอย฽างราบรื่นกลม กลืน ความส าคัญของครูใน

                                                                         ิ
                   อนุบาลวอลดอร์ฟ จึงต฾องเรียนรู฾ที่จะเข฾าใจ “เด็กตามธรรมชาต” (Natural Childhood) และภาวะกึ่ง
                   ฝัน (Dreamy stated) ที่มีอยู฽ในวัยเด็ก การศึกษาจึงเสมือนการท าหน฾าที่ปลุกให฾เด็กค฽อยๆตื่นขึ้นมา

                   ในโลก หาวิธีเชื่อมโยงเด็กสู฽โลกที่เขาได฾ลงมาเกิด ครูยังต฾องใส฽ใจในการเตรียมสิ่งแวดล฾อม สถานที่

                   อาคาร ห฾องเรียน บริเวณสวน ตลอดจนเครื่องมือเครื่องใช฾ และของเล฽นที่เด็กเล฽น ให฾เด็กสามารถ

                                                                    ิ
                   เชื่อมโยงที่มาที่ไปในธรรมชาติได฾ ตลอดจนพลังธรรมชาตของโลก คือ ดิน น้ า ลม ไฟ ครูได฾น ามา



                                                           ~ 29 ~
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42