Page 34 - 003
P. 34

2. ชั้นการเรียนรู฾จากการคิด (Iconic Stage) เป็นขั้นที่ผู฾เรียนสามารถสร฾างมโนภาพในใจได฾

                                                 ฾
               สามารถเรียนรู฾จากภาพแทนของจริงได
                       3. ขั้นการเรียนรู฾สัญลักษณ์และนามธรรม (Symbolic Stage) เป็นขั้นการเรียนรู฾ที่ซับซ฾อน

               และเป็นนามธรรมทฤษฏีการเรียนรู฾ของบรูเนอร์ แบ฽งระดับเนื้อหาที่มีความยากง฽ายต฽างกัน โดยเริ่ม

                                                                               ฾
               จากการสอนจากระดับง฽ายแล฾วค฽อยเพิ่มความยากเด็กจะสามารถเข฾าใจไดในลักษณะที่เหมาะสมกับ
               วัย ครูควรท าการทบทวนหัวข฾อประจ าปีเพื่อปรับปรุงให฾เหมาะสม มีการวางแผนรายสัปดาห์และ

               รายปีผู฾เรียนทุกคนมีพัฒนาการทางความรู฾ความเข฾าใจโดยผ฽านกระบวนการ  Acting, Imagine และ
               Symbolizing

                       ทฤษฏีของบรูเนอร์ไปสนับสนุนทฤษฏีการเรียนรู฾ของเพียเจต์ เมื่อมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล฾อม

               จะท าให฾โครงสร฾างทางสติปัญญาขยายและซับซ฾อนเพิ่มขึ้น หน฾าที่ของครูคือ การจัดสภาพ

               สิ่งแวดล฾อมที่ช฽วยเอื้อต฽อการขยายโครงสร฾างทางสติปัญญาของผู฾เรียน (มัณฑรา ธรรมบุศย์. สืบค฾น
               จาก: bannjomyut.com./Library/intellectual development)

                       ดังนั้น แนวทางในการน าทฤษฏีของบรูเนอร์ไปใช฾ มีดังนี้

                       1.  ให฾ความส าคัญกับการจัดล าดับความยากง฽ายของบทเรียนตามความเหมาะสม

                       2.  มีการสร฾างแรงจูงใจภายในผู฾เรียนเพื่อให฾เกิดความอยากรู฾อยากเห็นด฾วยตนเอง
                       3.  มีการสร฾างการเสริมแรงของผู฾เรียนให฾เกิดขึ้นกับผู฾เรียน

                       4.  การเรียนควรมีความต฽อเนื่องไปตลอดชีวิต



                                                  ์
               8. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มเกสตลท
                                               ั
               (Gestalt ‘s Theory)

                       นักจิตวิทยากลุ฽มเกสตัลท์ (Gestalt, 1912) เป็นกลุ฽มนักจิตวิทยาชาวเยอรมันมีผู฾น ากลุ฽มคน

               ส าคัญคือ แมกซ์ เวอร์ ไธเมอร์ (Max Wertheimer) เคอร์ท เลอวิน (Kurt Lewin)  เคอร์ท คอฟพ ์
               กา (Kurt Koffka) และวอล์ฟแกง โคเลอร์ (Wolfgang Kohler) โดยได฾รวบรวมแนวความคิดการ

               เรียนรู฾หลายๆที่มามารวมกัน ใช฾ชื่อเรียกของกลุ฽มว฽า เกสตันท์ (Gestalt) ซึ่งมีความหมายว฽า แบบ

               หรือรูปร฽าง (Form or Pattern)  แต฽ต฽อมาหมายถึง ส฽วนประกอบโดยรวม (Wholeness) โดยแยก

               ประสบการณ์การเรียนรู฾เป็น 2 ลักษณะ คือ การรับรู฾ (perception) และการหยั่งรู฾ (Insight)
                       รายละเอียด

                       1. การรับรู฾ (Perception) การรับรู฾ด฾วยการสัมผัสกับสิ่งเร฾าด฾วยประสาทสัมผัส 5 ด฾านคือ

               หู ตา จมูก ผิวหนัง และลิ้น  โดยการรับรู฾ทางสายตาจะมากกว฽าการรับรู฾ทั้งหมดประมาณ 75

                                                     ฽
                        ์
               เปอร์เซ็นต องค์ประกอบของการรับรู฾ ได฾แก
                              สิ่งเร฾า (Stimulus) ได฾แก฽ วัตถุ แสง เสียง กลิ่น รสต฽างๆ

                                                       ~ 26 ~
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39