Page 112 - 003
P. 112

์
               3. การก าหนดจุดประสงคของการเรียนรู้
                       จุดประสงค์ของการเรียนรู฾ เป็นหัวข฾อส าคัญในการท าแผนการจัดการเรียนรู฾ที่มีความส าคัญ

               เป็นการเขียนระบุความคาดหวังที่จะเกิดขึ้นกับผู฾เรียนหลังจากที่ได฾ท ากิจกรรมการเรียนการสอนในแต ฽

                               ฽
               ละเรื่องหรือในแตละหน฽วยผ฽านไปแล฾ว การเขียนจุดประสงค์อาจเขียนได฾ด฾วยค าต฽อไปนี้ เช฽น นักเรียน
               มีความรู฾...... นักเรียนมีความเข฾าใจ...... นักเรียนมีความตระหนัก........ นักเรียนมีความซาบซึ้ง.....

               และอื่นๆที่เป็นความคาดหวังจะเกิดขึ้นกับผู฾เรียน

                       จุดประสงค์ของการเรียนรู฾แบ฽งออกเป็น 2 ระดับคือ จุดประสงค์ปลายทาง และจุดประสงค์

               น าทาง มีความแตกต฽างกันคือ จุดประสงค์ปลายทางเป็นการก าหนดว฽าเมื่อเด็กเรียนจบแต฽ละหน฽วย
               การเรียนไปแล฾วผู฾เรียนจะบรรลุผลการเรียนที่ก าหนดไว฾ ส฽วนจุดประสงค์น าทาง เป็นจุดประสงค์ย฽อย

               ที่น ามาเชื่อมต฽อกันเพื่อให฾เป็นจุดประสงค์ปลายทาง

                                                   ี
                       จุดประสงค์การเรียนรู฾ตามทฤษฏของบลูม (Bloom) แครทโรล (Krathrohl) และแฮร์โรว์
               (Harrow) แบ฽งออกเป็น 3 หมวดคือ
                       1. จุดประสงค์พุทธิพิสัย (Cognitive Domain) คือ จุดประสงค์ที่เน฾นความสามารถทาง

               สมองและสติปัญญา ความรอบรู฾ในเนื้อหาวิชา หลักการ และทฤษฏี วัดความรู฾ใน 6 ระดับ




                      ระดับพฤติกรรม  (ในจุดประสงค์ทั่วไป)     ตัวอย฽างคากิริยาที่ใช฾(ในจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม)
               1.ความรู฾ ความจ า (Knowledge): การรับรู฾ข฾อมูลการ  บอกคุณสมบัติ เลือก เติมค าให฾สมบูรณ์ ก าหนดจับคู฽

               ระลึกได฾ จดจ าได฾ สิ่งที่เรียนมา จากข฾อมูลง฽ายๆไปจนถึง เขียนล าดับ อธิบาย บรรยาย ระบุ จ าแนก ขีดเส฾นใต฾
               ทฤษฏี

               2.ความเข฾าใจ (Comprehension): จับใจความ แปล  แปลความหมาย อธิบาย ขยายความ สรุปความ
               ความหมาย อธิบาย สรุป ขยายความ                ยกตัวอย฽าง บอกความแตกต฽าง เรียบเรียง เปลี่ยน
                                                            ประมาณการ อ฾างอิง คาดคะเน ตีความ อุปมาอุปมัย

               3.การน าไปใช฾ (Application): การน าข฾อมูลไปใช฾   การประยุกต์ การค฾นพบ การดัดแปลง การด าเนินการ
               ความสามารถในการน าสิ่งที่ได฾เรียนรู฾ไปใช฾ใน  การมีส฽วนร฽วม การแสดง  การวางแผน ท าให฾ดู

               สถานการณ์ใหม฽                                แก฾ปัญหา สาธิต ท านาย เปลี่ยนแปลง ค านวณ
                                                            ปรับปรุง ผลิต ซ฽อม

               4.การวิเคราะห์ (Analysis):  : ความสามารถในการ  การวิเคราะห์ จัดพวก จัดชั้น จัดกลุ฽ม หาความแตกต฽าง
               แยกสิ่งต฽างๆออกเป็นส฽วนย฽อยเหล฽านั้นได฾      แสดงแผนภูมิ เขียนโครงร฽าง แยกแยะ จัดประเภท
                                                            จ าแนกให฾เห็นความแตกต฽าง บอกเหตุผล ทดลอง

               5.การสังเคราะห์ (Synthesis): ความสามารถในการ  จัดเตรียม จัดประเภท ผสมผสาน ก าหนด สร฾าง
               รวบรวมส฽วนย฽อยๆเพื่อสร฾างรูปแบบหรือโครงสร฾างใหม฽  ออกแบบ ผลิต ทบทวน แต฽ง น าเสนอ จัดแสดง

                                                            รวบรวม ออกแบบ จัดระเบียบ สร฾าง ประดิษฐ์ วาง
                                                            หลักการ


                                                       ~ 104 ~
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117