Page 131 - 003
P. 131
4. ประติมากรรมและสื่อประกอบการสอน
ประติมากรรมเป็นงานที่สรางสรรค์เป็นรูปราง 3 มิติคือมีความกวาง ความยาว และความ
หนาหรือลึก เป็นงานที่ใหความส าคัญดานรูปทรงและปริมาตรมากกวาเสนและสีสันอยางในงาน
จิตรกรรม ผูที่สรางงานประติมากรรมจนมีชื่อเสียง จะเรียกวา ประติมากร
ประเภทของประติมากรรม
ประเภทของประติมากรรมเรียกตามลักษณะที่ปรากฏใหเห็นดานปริมาตร
1. ประติมากรรมนูนต่ า (Low Relief or Base Relief) เป็นผลงานที่มีฐานหรือพื้นหลังติด
อยู รูปรางรูปทรงมองเห็นไดจากดานหนาเพียงเล็กนอย นิยมสรางบนผนัง หรือติดตั้งในสวนที่มี
ก าแพง งานประติมากรรมชนิดนี้จะนูนขึ้นมาเล็กนอย สามารถจับตองได ที่พบบอยมาก เชน การ
สรางเหรียญรางวัล การสรางประติมากรรมติดผนังหรือก าแพง เป็นตน
2. ประติมากรรมนูนสูง (High Relief) เป็นผลงานที่มีฐานหรือฉากลังเชนเดียวกับ
ประติมากรรมนูนต่ า แตจะสามารถมองเห็นดานหนาและดานขางไดมากกวาประติมากรรมนูนต่ า คือ
มีสวนที่เป็นผลงานยื่นออกมามากกวาครึ่งหนึ่งของสัดสวนทั้งหมด ประติมากรรมนูนสูงจะพบเห็นได
งาย เชน การสรางประติมากรรมตามอนุสาวรีย์ตางๆ นิยมสรางประติมากรรมประกอบผนัง เพื่อ
การประดับตกตาง เป็นตน
3. ประติมากรรมลอยตัว (Round Relief) เป็นประติมากรรมที่สามารถมองเห็นไดรอบดาน
ดานหนา ดานขาง และดานหลัง ไมติดที่ฐาน แตสามารถมีฐานประกอบไดเพื่อความแข็งแรงมั่นคง
มีปรากฏใหเห็นทั่วไป
4. ประติมากรรรองลึก (Sunken Relief) เป็นงานประติมากรรมที่สรางในลักษณะพิเศษ
และอาศัยความช านาญในการขุด เจาะ หรือแกะสลักพื้นผิววัตถุใหมีความลึกเวาดานในเนื้อของวัสดุ
มีฉากหลังหรือฐานรองรับ มองเห็นไดจากการสองหรือชโงกดู มีปรากฏใหเห็นนอยมากเพราะไมนิยม
สราง
5. ประติมากรรมแขวน (Mobiles) เป็นประติมากรรมที่มีลักษณะพิเศษ คือมีการแขวนใหอย ู
ในอากาศหรือที่วาง เพื่อใหมีการเคลื่อนไหวดวยแรงลม มักสรางจากวัสดุที่มีน้ าหนักเบา
เทคนิคประติมากรรม
1. การปั้น (Modeling) เป็นการน าวัสดุที่มีความเหนียวมีลักษณะเนื้อวัตถุเกาะกันเป็นกอน
การน าวัตถุมาปั้นรวมกัน เรียกวา กระบวนการบวก หรือ การเพิ่ม เพื่อใหวัตถุเกิดเป็นรูปทรง วัสดุที่
ใชไดแก ดินน้ ามัน ดินเหนียว กระดาษผสมกาว ขี้เลื่อยผสมกาว เทียนไข เป็นตน
วิธีการท าคือ การน ามาปั้น นวด พอก บด คลึง รวมกันใหเกิดเป็นรูปทรงที่สวยงาม
~ 123 ~